Page 144 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 144
Abstract
ASEAN COSMETIC GMP standard requirements are criteria in the field of cosmetics manufacturing
establishments by which such criteria are broad criteria. To create flexibility which causes confusion, the
objectives of this research are as follows: 1) To study the application of the ASEAN COSMETIC GMP standard
in real conditions of the cosmetic industry 2) To obtain guidelines for designing production sites according
to ASEAN COSMETIC GMP standards
The data collection process consists of the process of studying the relevant documents. In-depth
interviews and field visits All data were examined using a data triangulation method based on the
comparison of data obtained from multiple data collection methods. The collected data were categorized
according to the issues studied by arranging the content into a systematic analysis of the study results
according to the objectives by writing a descriptive description based on the information obtained and
checking for completeness again.
The results showed that 1) Observing the environment Guidelines for designing a cosmetic
manufacturing facility to meet the ASEAN COSMETIC GMP standard. Case studies Evercare Co., Ltd. can be
classified into 6 areas, which are animal and insect trapping. Types of structural materials and covering
materials use of lighting Using a ventilation system Characteristics of doors and windows Characteristics of
the furniture used 2) in-depth interview Guidelines for designing a cosmetic manufacturing facility to meet
the ASEAN COSMETIC GMP standard. Case studies Evercare Co., Ltd. can be classified into 6 areas, which
are animal and insect trapping. Types of structural materials and covering materials use of lighting Using a
ventilation system Characteristics of doors and windows Characteristics of the furniture used.
Keywords: Cosmetics factory, ASEAN COSMETIC GMP standard, Establishment of production facility,
Cosmetics, Cosmetic production facility
1. บทนำ
ั
้
ในปจจบนเครืองสำอางเปนสงทมนษยนนใชในทก ๆ วนเปนประจำจนกลายเปนอกหนงปจจยสำคัญของชวต แตถง
่
่
่
ิ
ั
ุ
ี
ุ
ุ
่
ึ
ั
ี
ิ
ี
ั
ึ
กระนั้นปญหาจากการใชเครื่องสำอางก็ยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องอาทิเชน เครื่องสำอางไมไดคุณภาพ โดยมีสาเหตุมาจาก
่
ั
้
ั
ู
ั
่
ี
่
ึ
สถานทผลิตไมไดมาตรฐาน ซงจากฐานขอมลของสำนกงานคณะกรรมการอาหารและยาพบวา ตงแตวนที 26 ก.ย. 2551 – 23
ั
พ.ค. 2561 มีผูประกอบการที่จดแจงเปนผูผลิตเครื่องสำอางภายในกรุงเทพมหานคร จำนวน 6,048 แหง และ เมื่อเทียบกบ
ฐานขอมูลรายชื่อสถานประกอบการที่ไดรับรองมาตรฐาน ASEAN COSMETIC GMP อัพเดทวันที่ 17 พ.ย. 2564 พบวาม ี
สถานประกอบการเพียง 60 แหงที่ผานการรบรองมาตรฐาน ASEAN COSMETIC GMP คิดเปนรอยละ 1% เทานั้นถึงแมทาง
ั
สำนกงานคณะกรรมการอาหารและยา กลุมควบคมเครืองสำอาง (2547) ไดจดทำการแปลเอกสาร ASEAN COSMETIC GMP
ั
ั
่
ุ
็
ู
ื
GUIDELINE เอาไวเปนภาษาไทยกตาม แตจากจำนวนสถานที่จากฐานขอมลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ก็ถอ
วายังมีจำนวนสถานที่ผลิตที่ไดรับรองมาตรฐาน ASEAN COSMETIC GMP นอยมากหากเทียบกับจำนวนสถานที่ผลิต
่
เครืองสำอางทมาอยภายในกรงเทพมหานคร
ู
ุ
่
ี
ประกอบกบการศกษาในประเด็นการออกแบบสถานทีผลิต ไมวาจะเปนการเขารวมสัมมนาในการจัดตงสถานทีผลิต
่
้
ึ
่
ั
ั
หรือติดตามขาวสารบานเมือง ทำใหทราบถึงปญหาตาง ๆทั้งจากผูประกอบการโรงงาน พนักงานโรงงาน และ เจาหนาท ี ่
ประเมินสถานที่ จึงใหความสนใจในการปรับปรุง และ แกไขปญหาที่เกิดขึ้น จากการพูดคุยกับผูประกอบการโรงงาน และ
เจาหนาทีประเมิน ประกอบกับการอานเอกสาร มาตรฐาน ASEAN COSMETIC GMP ทำใหพบปญหาเบองตนดังน ขอกำหนด
่
ื
้
ี
้
136