Page 141 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 141
ี
ผลการศึกษานี้พบวามสอดคลองกับงานวิจัยที่มีมากอนหนา (นาตยา อยูคง, 2561) ไดอธิบายวา ครัวอีสานดั้งเดม
ิ
เปนพื้นที่เปดโลงทำใหเกิดปฏิสัมพันธทางสังคมระหวางกลุมเครือญาติและเพื่อนบานมีการพูดคุย ชวยเหลือแบงปนอาหาร
้
่
ื
ื
ิ
ี
ั
ี
ั
่
ี
่
ั
ั
หยบยมอุปกรณ ตอมาเมอมการเปลียนแปลงไปสูวฒนธรรมครวอสานสมยใหมลักษณะครัวจะกำหนดพืนท ชดเจนมีการใชเตา
แกสและเทคโนโลยีสมยใหม ความรวดเรวและเทคโนโลยีทำใหสังคมเปลี่ยนไปตามยุคสมย การพูดคุยในชวงเวลาทำอาหารก็
ั
ั
็
ิ
ลดลงไปดวย พฤติกรรมหรือกิจกรรมที่เกดขึ้นในครัวจึงลดนอยลงการประกอบอาหารจึงเนนการประกอบอาหารที่งายและ
รวดเร็วเปนสวนใหญ
ื
ั
ี
ั
ี
ู
่
่
ี
ิ
้
ั
5.3 รปแบบการใชงานพนทครวสมยใหมมการปรบเปลยนจากเดม
ผลจากการสังเกตและสัมภาษณ ผูใหขอมูลทั้ง 2 กลุม สรปวา มีรูปแบบพื้นที่ครัวที่หลากหลายทั้งการจัดวาง
ุ
ั
ั
้
ั
่
้
ู
ึ
ี
้
ทงตำแหนงของอปกรณครว เครืองเรือน ทงนขนอยกบความสะดวก ความปลอดภัย สบายใจของผูใชงานเปนหลัก เนนการใช
ั
้
ั
เตาถานในการประกอบอาหารเกือบทุกบาน มีการแยกครวนอกบานและครัวในบานอยางชัดเจน กลิ่นอาหารจะไดไมรบกวน
่
ผูอาศัยภายในบาน นอกจากขึ้นอยูกับความเชือของแตละบานแลว ยังขึ้นอยูกบความตองการของผูใชงานรวมถึงงบประมาณ
ั
ี
่
ี
่
ในการกอสราง พนทครวไมมการตายตวของการจดวางตำแหนงตาง ๆ ไมวาจะเปนอปกรณหรือเครองเรือน พนทครวของผูให
ี
ั
่
ื
ั
้
ุ
ื
ั
้
ั
ื
ขอมูลสวนใหญ จะมีหลักสำคญของการวางตำแหนงเตา รูปแบบพื้นท่ที่เปดโลง เชน ผนังเปนไมซ่เวนชอง หรือ กออิฐฉาบปน
ั
ี
ู
ี
เจาะชองครึ่งบนหลายชอง หรือ มีชองเปดระบายอากาศจำนวนมากกวาพ้นที่อื่น เพื่อทำใหมีอากาศถายเทไดสะดวก ภายใน
ื
ุ
ุ
ั
ั
ี
ื
ิ
้
ั
่
ี
พนทครวจะทำชนวางหรือทแขวน หอย อปกรณครว หรอวตถดบสำหรับประกอบอาหาร
ั
่
้
ื
ผลการศึกษานี้พบวาสอดคลองกับงานวิจัยที่มีมากอนหนา (วชิรพงษ กิตติราช, 2562) ไดอธิบายวาเรือนไฟ
ื
(เรือนครัว) สวนมากจะเปนเรอน 2 ชวงเสา มีจั่วโปรงเพื่อระบายควันไฟ ฝานิยมใชไมไผ สานลายทแยงหรอลายขัด เรือนไฟ
ื
ู
ื
ี
ู
ั
ั
ู
่
ั
ุ
ุ
หรือ เรือนครว มกจะอยหลังเรือน หรือใตถนเรือน เวลาหงหาอาหารจะไมรบกวนผทอาศยอยในเรอน เรือนไฟ จะมีชองระบาย
อากาศ โดยการสานลายทแยง หรือ ลายแนวตั้งหางๆกัน เพื่อระบายควันไฟในการทำอาหาร เหนือคีไฟ (เตาไฟสำหรับ
ประกอบอาหารดวยฟน)ประมาณเมตรครึ่ง จะทำเปนหิ้งไวแขวนเมล็ดพืชหรือสิ่งของที่ไมตองการใหมีมอดมารบกวน เพราะ
ึ
ั
้
ั
ี
ี
ั
ั
ื
่
็
ควนไฟจากคไฟจะรมควันเมล็ดพชเหลานน รวมถงฝาครัวไฟทมกทำจากไมไผกจะปลอดภัยจากมอดเชนกน
ความพึงพอใจและวิธีการปรับการใชงานพื้นที่ครัวของบานพื้นถิ่นรวมสมัยตามความเชื่อในวัฒนธรรม
ั
อีสาน คือ ผูใหขอมูลทั้ง 2 กลุม มีความพึงพอใจในครัวเดิมของตนเอง แมวามีความตองการปรับเปลี่ยนครวใหมก็ตาม ทั้งน ี ้
ั
สวนใหญกลาววา ขนอยกบงบประมาณในการกอสรางเปนหลัก ไมวาจะเปนครวดงเดมหรือครวสมัยใหม ซงไมมีผูใหขอมลกลุม
ิ
ึ
ั
ั
ู
่
ั
้
ู
ึ
้
ั
ู
ใดพูดถึงการปรับเปลี่ยนครัวตามความเชื่อในวัฒนธรรมอีสาน เนื่องจากสวนใหญครัวเดิมที่มีอยูเปนครวที่ทำตามเชื่ออยแลว
ุ
ั
ั
ซึ่งในการปรับเปลี่ยนครวจะเห็นไดวาในครวแบบดั้งเดิมไดมการนำเอารูปแบบตะวันตกมาประยกตใช เชน การกอเคานเตอร
ี
ทำอาหารแบบตะวันตก การใชเตาแกส เตาไฟฟาแทนการใชเตาถานแบบอีสานดั้งเดิม มีอุปกรณที่ทันสมัย เชน ไมโครเวฟ
ู
ั
่
่
ั
้
ี
ื
ั
้
่
ี
ู
เครืองดดควน มโตะ เกาอสำหรับรบประทานอาหารแทนการปเสือนงพนรบประทานอาหาร
ั
ี
ผลการศึกษานสอดคลองกับงานวิจยที่มีมากอนหนา (สนอง คลังพระศรี, 2541) ไดอธิบายวา เทคโนโลยีและสิ่งอำนวยความ
ั
้
สะดวกสมัยใหมมีบทบาทสำคัญตอการใชชีวิตในปจจุบันเกิดการปรับตัวทางวัฒนธรรมเพื่อเขากับเทคโนโลยีสมัยใหม ครว ั
่
ี
่
็
่
ื
อสานหรือวฒนธรรมการประกอบ อาหารแบบดังเดมกเปลียนแปลงไปตามเทคโนโลยเมอมการนำเครืองใชไฟฟามาใชประกอบ
ี
้
ี
ิ
ั
ี
ั
ั
็
ิ
่
่
ั
ี
อาหาร แทนการประกอบอาหารแบบดังเดิม วฒนธรรมอาหารการกินกยงคงเดิมเพยงแคมสิงอำนวยความ สะดวกสมยใหมเพม
้
เขามา เปนการประยุกตใชระหวางวัฒนธรรมและเทคโนโลยีในโลกรวมสมัย และยังสอดคลองกับงานวิจัยนี้ (รังสฤษฎ เชียร
วชย, 2553) อธบายวา การกอสรางบานพกอาศยในหมบานจดสรร ไมไดคำนงถงความตองการใชงานในพนทหองตาง ๆ มาก
ั
ิ
ี
่
ั
้
ั
ู
ื
ึ
ิ
ึ
ั
ิ
ี
ื
้
ึ
่
ึ
ั
นก จงมองเหนปญหาความไมเหมาะสมในดานพนทการใชงานจงนำไปสการเปลียนแปลงรูปแบบ และการตอเตมใหเหมาะตอ
็
ู
่
ั
ู
ื
็
่
ี
่
ี
ิ
ั
ื
ุ
การใชงาน สวนทไดรับการตอเตมทพบเหนไดบอยทสดคอ หองครวเนองจากรปแบบเดิมไมสอดคลองกบพฤตกรรมการใชสอย
ิ
ี
่
่
ิ
บทบาทหนาที่ครัวปจจุบันแตกตางไปจากเดิม โดยพื้นที่เตรียมอาหารใชสำหรับเตรียมอาหารเล็ก ๆ นอย ๆ จะใชครัวเดม
ิ
ภายในบาน สวนการประกอบอาหารหนักจะใชพนทครวนอกทมการตอเติมออกไปจากเดม
ั
่
่
ี
ี
ื
้
ี
133