Page 288 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 288
ชื่อเขาชิงอีกกวา 110 รางวัล จากเทศกาลภาพยนตรทั่วโลก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การชนะเลิศรางวัล Palme d’Or จากเทศกาล
่
ึ
ี
ี
ั
ั
ี
ั
้
่
ุ
ั
ี
ภาพยนตรเมืองคานส_ซงในประวติศาสตรมผูกำกบชาวญปนเพยง_3_คนเทานน_ทเคยไดรับรางวลน ้ ี
่
ภาพยนตรของ ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ ไดรับการยอมรับวาเปนผลงานที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ทั้งการเปนกระจกสะทอน
ั
ั
่
ี
ั
สะทอนปญหาสังคมญีปน (คนฉตร รงษกาญจนสอง. 2565) ผสมผสานเทคนิคสารคดีในการสรางภาพยนตรบนเทง เผยใหเหนโลก
ิ
ุ
็
ั
ทั้งดานงดงามและอัปลักษณ (พลากร เจียมธีระนาถ. 2557)_รวมไปถึงแสดงภาพบริบททางวัฒนธรรมและสังคมญี่ปุน_
(อรรณนพ_ชินตะวัน. 2553) ทั้งนี้ สำหรับในประเทศไทย ยังไมมีการศึกษาถึงเอกลักษณ อิทธิพล และความสัมพันธที่มีใน
ภาพยนตรบันเทิงขนาดยาวทุกเรื่องของโคเรเอดะอยางครบถวน อีกทั้งยังขาดองคความรูของการศึกษาเชิงลึก เกี่ยวกับแนวคด
ิ
และวิธีการสรางสรรคภาพยนตรของ_ฮิโรคาสุ_โคเรเอดะ_ซึ่งเปนผูกำกับที่ไดรับการยอมรับจากทั่วโลก นอกจากนี้ สภาพสังคม
ั
ู
ั
ั
ี
ุ
ิ
ั
ี
ื
ุ
ของไทยและญปนยงมจดรวมทางวฒนธรรม มปญหาสังคมในรปแบบคลายคลึงกน แตความนยมในการชมภาพยนตรในไทยยงถอ
่
ี
เปนเรืองใหความบันเทิงเปนสวนใหญ ทั้งนี้ การศึกษาวิธีคดและวิธีการสรางสรรคผลงานของโคเรเอดะ สามารถนำไปประยุกตใช
ิ
่
ี
่
การสรางภาพยนตรสะทอนปญหาสังคมไทย ทเขาถึงผูชมในวงกวาง และไดรับการยอมรับมากกวาทเปนอยในปจจบน (พรรณศรี ชู
ั
ี
ู
่
ุ
อารยะประทีป. 2564) รวมไปถึงสรางประเด็นและแนวทางการเรียนรใหม ของภาพยนตรสะทอนสังคมใหกับผูชมในประเทศไทย
ู
(ณฐพล บญประกอบ. 2564)
ุ
ั
็
ั
ดวยความสำเรจและเอกลกษณทางภาพยนตรของผูกำกับ และโอกาสในการวิจยดังกลาว จึงควรศึกษาวิเคราะหผลงาน
ั
ี
ื
ู
ุ
ของ ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ ตามแนวทางของทฤษฎประพนธกร ทถอวาผูกำกบคอผประพันธภาพยนตร ซงประทับบคลิกภาพของตน
่
ึ
ื
่
ี
ั
ลงในผลงาน (กฤษดา เกิดดี. 2557) โดยมงศึกษา 4 องคประกอบไดแก ประวัติชีวิตผูกำกับ แกนเรื่อง สุนทรียภาพ และ
ุ
กระบวนการทำงาน (Doughty and Etherington-Wright. 2018) ซึ่งจะทำใหเขาใจถึงรากฐานของชีวิต ที่สงอิทธิพลตอการ
ิ
ุ
ิ
ั
สรางสรรคผลงาน และนำไปสูการสรางขอสรป ชดความคดในการสรางสรรคผลงานของ ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ อนจะเกดเปนตนแบบ
ุ
ู
วิธีคิด วิธีสรางผลงาน เทคนิคทางภาพยนตรของ ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ เพื่อที่ผูกำกับหรือผสรางภาพยนตรสามารถนำไปประยุกตใช
่
ู
ในอุตสาหกรรมภาพยนตรและสือในประเทศไทย รวมไปถึงการเกิดองคความร ความเขาใจในผลงานของโคเรเอดะอยางลึกซึ้งใน
ิ
ิ
ิ
ิ
ิ
เชงวชาการ และเขาใจบรบททางสังคมวฒนธรรมญีปนทสงอทธพลตอการสรางภาพยนตรญปน
ุ
่
ี
่
ุ
ี
่
ั
ิ
2. วตถประสงคของการวจย
ั
ั
ุ
ั
ิ
ึ
ึ
2.1 เพอศกษาถงความเปนประพนธกร ในภาพยนตรของ ฮโรคาสุ โคเรเอดะ
ื
่
ื
ิ
่
ิ
2.2 เพอสรางองคความรู ขอสรุปชดความคดในการสรางสรรคภาพยนตรของ ฮโรคาสุ โคเรเอดะ
ุ
ื
ิ
ี
ิ
ั
ิ
ั
3. วธการวิจย เครองมอวจย และระเบียบวธวจย
่
ั
ิ
ื
ี
ิ
ั
ุ
การวจยเรอง ความเปนประพนธกรในภาพยนตรของ ฮโรคาสุ โคเรเอดะ ใชระเบียบวจยเชงคณภาพ (Quantitative
ิ
ั
ื
ิ
่
ั
ิ
ั
Research) โดยใชเครืองมอการวจย ดงตอไปน ี ้
่
ื
ั
ิ
ั
3.1 การกำหนดกรณีศกษาจากผลงานของผูกำกบ
ึ
3.2 การรวบรวมขอมล
ู
ิ
3.3 การวเคราะหภาพยนตร
ี
3.4 การสัมภาษณผูเชยวชาญ
่
280