Page 77 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 77
ิ
โรงพยาบาลโพธาราม เปนโรงพยาบาลทกอสรางเปนโรงพยาบาลอำเภอเปนแหงแรกของประเทศไทยเปดใหบรการครง ้ ั
ี
่
แรกเมื่อ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ปจจุบันเปนโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 340 เตียง (โรงพยาบาลโพธาราม, 2556)
โรงพยาบาลโพธารามต้งอยูใกลกับทางรถไฟและสถานีรถไฟโพธาราม มีเพียงถนนขนานทางรถไฟขนาด 4 เมตร กั้นระหวางทาง
ั
ึ
ุ
้
ั
ึ
ึ
ื
ุ
รถไฟและโรงพยาบาล โรงพยาบาลโพธารามมีทงหมด 6 ตก คอ ตกอำนวยการเกาและหนวยงานสนับสนน (ตกฉกเฉน) ตก 45 ป
ิ
ึ
ตึกกุมารเวชกรรม ตึกสงฆอาพาธ ตึกกระดูก (ตึกพิเศษ) และอาคารเฉลิมพระเกยรต 9 ชั้น โดยตึกสงฆอาพาธ ตึกฉุกเฉิน และตึก
ิ
ี
พิเศษ เปนตึกที่อยูดานหนาของโรงพยาบาลซึ่งอาจไดรบผลกระทบจากเสียงรถไฟ แตในที่นีจะเลือกตกสงฆอาพาธ เนื่องจากเปน
ึ
ั
้
ี
่
ี
ื
ึ
ตกทมระยะหางจากทางรถไฟนอยทสุด คอ 53.18 เมตร โดยประมาณ ทำใหอาจไดรับผลกระทบทางเสียงจากทางรถไฟ
่
ี
3.1.1 ตึกสงฆอาพาธ โรงพยาบาลโพธาราม ตึกสงฆอาพาธเปนอาคารที่ตั้งอยูทางทิศเหนือของโรงพยาบาลโพ
ิ
ิ
ั
ธาราม ดานทศเหนอของอาคารติดกบถนนโรงพยาบาล-บานฆอง ทศตะวนตกของอาคารติดกบถนนขนานทางรถไฟ และทางรถไฟ
ั
ั
ื
รวมถึงในปจจบนมสถานรถไฟโพธาราม (อาคารชวคราว) ตงอยใกลกบบรเวณดานโรงพยาบาล ตกสงฆอาพาธมระยะหางจากทาง
่
ั
ั
้
ิ
ุ
ี
ี
ี
ั
ึ
ู
ั
ี
่
ั
รถไฟประมาณ 53.18 เมตร ดงรปท 3
ู
ึ
ู
ี
่
รปท 3 แสดงระยะหางระหวางตกสงฆอาพาธและทางรถไฟ
ทมา: ผวจย (2565)
ี
ั
ู
่
ิ
กอนหนาจะเกิดสถานการณโรคระบาดโควิด-19 ตึกสงฆอาพาธใหบริการสำหรับผูปวยทั่วไปเพศชายและพระสงฆ แต
ปจจุบันไดปรับเปลี่ยนใหเปนอาคารสำหรับผูปวย(ชายและพระสงฆ) โรคโควิด-19 ชั่วคราว เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณใน
ั
ปจจบน ดงตารางท 1
่
ั
ุ
ี
ตารางที 1 แสดงจำนวนหองภายในตึกสงฆอาพาธ
่
้
้
ชัน 1 ชัน 2
ี
ู
ู
ึ
หองผปวยโควิด-19 (negative pressure room) 1 หอง ตกผปวย (ชายและพระสงฆ) 15 เตยง
ุ
จดตรวจผูปวยโควิด-19 หองทำงานเจาหนาท ี ่
รูปแบบอาคารตกสงฆอาพาธ ในสวนของหองผูปวยรวมยังคงใชการระบายอากาศแบบธรรมชาต รวมกับพัดลม มีเพียง
ิ
ึ
ื
ุ
ั
ี
หองทำงานเจาหนาที่ที่ไดมีการปรับปรงใหมการใชระบบเคร่องปรับอากาศ ทำใหในสวนของหองผูปวยไดรบผลกระทบจากเสียง
ี
่
ั
รบกวนภายนอกมากทสด เนองจากใกลกบทางรถไฟมากทสุด ดงรปท 4 และรปท 5
ั
่
ู
ุ
ี
่
ี
่
ื
ู
ี
่
69