Page 99 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 99
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพ่อศึกษาลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพในปัจจุบันและปัญหาของส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายใน
ื
พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
ื
2.2 เพ่อศึกษาพฤติกรรมการเดินชมและปัญหาของผู้เข้าชมส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์
สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
ี
ี
2.3 เพ่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เข้าชมและเจ้าหน้าท่ ท่มีต่อลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพในปัจจุบันของ
ื
ส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
ื
2.4 เพ่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายใน
พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
3. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ี
พิพิธภัณฑ์เป็นสถาบนถาวรท่ให้บริการแก่สังคมและมีส่วนในการพัฒนาสังคม (ICOM, 2010) ท�าหน้าท่อนุรักษ์ค้นคว้า
ั
ี
ั
ิ
ู
ั
ิ
ิ
ิ
่
ู
ั
ิ
ั
ี
วจัยเผยแพร่ความร้ และจดแสดงมรดกทางวัฒนธรรม พพธภัณฑ์ประวัตศาสตร์สงครามโลกคร้งท 2 จดอย่ในพิพธภณฑสถาน
ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี จากการจ�าแนกประเภทของพิพิธภัณฑ์ของสภาการพิพิธภัณฑสถานระหว่างชาติ International
Council of Museums (ICOM) เน้นการจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
Bitgood (2002) อธิบายสาเหตุ 2 ปัจจัยของการเกิดความอ่อนล้าในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ (Museum Fatigue)
ี
1) คุณสมบัติของผู้เข้าชม เกิดจากลักษณะพฤติกรรมของผู้เข้าชมท่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมของพิพิธภัณฑ์ ปัจจัยท่เก่ยวข้อง
ี
ี
กับผู้เข้าชมมีส่วนท�าให้ความสนใจในการชมลดลง เช่น ความเม่อยล้าทางกายภาพปริมาณความสนใจ สมาธิด้านการรับรู้ของ
ื
แต่ละบุคคลลดลงตามเวลา ความสนใจของผู้เข้าชมยังอยู่ในระดับสูงใน 30-45 นาที ก่อนเข้าสู่ความอ่อนล้าในการชม 2) คุณสมบัต ิ
ื
ิ
ของส่งแวดล้อม คือ ปัจจัยการออกแบบการจัดแสดง ขนาด ความชัดเจนของวัตถุจากพ้นหลัง คุณลักษณะทางประสาทสัมผัส
(เสียง กลิ่นหรือสัมผัส) แสงไฟ ต�าแหน่งของสายตา ความน่าสนใจของวัตถุส�าคัญ และเทคนิคการจัดแสดง (Davey, 2005)
ื
Bitgood (2002) จึงช้ให้เห็นถึงวิธีการดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชม เพ่อแก้ปัญหาความอ่อนล้าในการชมพิพิธภัณฑ์
ี
ิ
ี
ดังน้ เพ่มการจัดแสดงพิเศษ (เช่น ขนาด ความชัดเจน แสง ต�าแหน่งสายตา ฯลฯ) กระตุ้นให้ผู้เข้าชมมีส่วนร่วมกับการจัดแสดง
โดยการถามค�าถาม เนื้อหาที่น่าสนใจ เอกสารประกอบค�าบรรยาย วัตถุ 3D มีการรบกวนน้อยที่สุด เช่น เสียง การแข่งขัน
ขององค์ประกอบการจัดแสดงอ่นๆ และการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าชมใช้เวลาพัก เพ่อช่วยเติมปริมาณความสนใจ (Davey, 2005)
ื
ื
กล่าวคือ ระดับแสงท่ท�าให้ตาไม่ล้า คือ 100 ลักซ์ ป้ายและข้อความต้องเลือกขนาด และประเภทท่เหมาะสมกับระยะการมองเห็น
ี
ี
คือ ระยะที่ 1 ระยะการมองน้อยกว่า 75 เซนติเมตร ตัวอักษรควรมีขนาด 4.5 มิลลิเมตร ระยะที่ 2 ระยะการมอง 1 เมตร
ตัวอักษรควรมีขนาด 9 มิลลิเมตร ระยะที่ 3 ระยะการมอง 2 เมตร ตัวอักษรควรมีขนาด 1.9 เซนติเมตร ระยะที่ 4 ระยะ
การมอง 3 เมตร ตัวอักษรควรมีขนาด 2.8 เซนติเมตร ลดแสงสะท้อน หรือแสงจ้าของป้ายด้วยการใช้แสงสีเหลือง ขนาดของ
ตู้จัดแสดงอยู่ท่ลักษณะของวัตถุจัดแสดงควรมีขนาดกว้าง 1.20 เมตร 1.80 เมตร 2.40 เมตร และไม่ควรสูงเกิน 90 เซนติเมตร
ี
จากพื้นภาพถ่าย ป้ายบรรยายติดผนัง หรือป้ายบอกทิศทาง ควรมีความสูงที่เหมาะสมแก่ผู้ที่นั่งและยืน คือ 1.20-1.70 เมตร
เพื่อให้ผู้พิการสามารถมองเห็นได้ (ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ และวีรยา เอี่ยมฉ�่า, 2556)
ี
งานวิจัยท่เก่ยวกับการประเมินสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ คือ แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ี
ิ
ื
ิ
ิ
ี
ทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถ่น กรุงเทพมหานคร โดยนพศักด์ ฤทธ์ดี การวิจัยน้มีจุดประสงค์เพ่อประเมินการจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ศึกษาทัศนคติของผู้เข้าชม ผู้เชี่ยวชาญด้านพิพิธภัณฑ์
และเจ้าหน้าที่ที่มีต่อจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 15 แห่ง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิง
ประเมินทางสถาปัตยกรรมโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ ผลจากการวิจัยพบว่า ภายในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร
Vol. 8 94