Page 100 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 100

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                                                                         ื
                                                                       ื
                                                                          ี
                                                   ี
                                                     ื
                                                ื
                ควรมีป้ายบอกทิศทางโดยรวมและป้ายในพ้นท่เพ่อประชาสัมพันธ์ ควรมีพ้นท่ส่วนจัดแสดงหมุนเวียนหรือจัดกิจกรรมเพ่อสร้าง
                                                             ี
                                                                                                        ี
                ความเคล่อนไหว ส่วนจัดแสดงภายในควรเป็นข้อมูลเชิงลึกท่เก่ยวกับประวัติของท้องถ่นน้นจริงๆ ควรมีวัตถุจัดแสดงท่บ่งบอก
                                                               ี
                                                                                   ั
                                                                                ิ
                       ื
                ถึงตัวตนมากกว่าบอร์ดบรรยายด้วยตัวอักษร ส่วนจัดแสดงควรมีระบบแสง สี เสียงท่เพียงพอ มีระบบการตอบโต้กับผู้เข้าชม
                                                                                ี
                  ื
                เพ่อสร้างความรู้สึกร่วม และควรมีการจัดกิจกรรมระหว่างพิพิธภัณฑ์กับชุมชน เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน (นพศักด์ ฤทธ์ดี,
                                                                                                        ิ
                                                                                                            ิ
                                          ื
                                             ี
                2553) จากการทบทวนงานวิจัยเร่องน้ สามารถนามาเป็นแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในพิพิธภัณฑ์
                                                     �
                แต่พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรียังไม่เคยมีการวิจัยในลักษณะการประเมินสภาพแวดล้อมเพื่อเสนอแนะ
                แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพในการแก้ปัญหาความ อ่อนล้าในการชมพิพิธภัณฑ์มาก่อน ดังนั้นผู้วิจัยจึง
                สนใจศึกษาวิจัยในเรื่องนี้
                4. วิธีการด�าเนินการวิจัย
                       การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณในระยะเวลาสั้น โดยมีรายละเอียดดังนี้
                       4.1  ประชากรและกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
                           ประชากรที่เป็นเจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์มีจ�านวน 2 คน ได้ข้อมูลจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ ผู้ให้ข้อมูลที่เป็น
                เจ้าหน้าที่  1  คน  ถูกเลือกแบบเฉพาะเจาะจงขณะให้ค�าแนะน�าผู้วิจัยในการชมพิพิธภัณฑ์ในวันที่  4  มกราคม  2560  เวลา
                14.00 น. ประชากรที่เป็นผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์มีจ�านวน 1 คน ได้ข้อมูลจากการสอบถามคุณอรัญ จันทร์ศิริ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์
                ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูล ประชากรที่เป็นผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี มีจ�านวนประมาณ 80 คน/วัน
                 �
                                                                �
                สาหรับวันจันทร์-ศุกร์  และมีจานวนประมาณ  200  คน/วัน  สาหรับวันเสาร์  อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์  ได้ข้อมูลจาก
                                       �
                การสอบถามผู้จ�าหน่ายตั๋ว ผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ในวันที่ 4-6 มกราคม 2560
                เพื่อสัมภาษณ์ 4 คนและตอบแบบสอบถาม 40 คน

                                             ื
                                                                      ี
                                                                                            ื
                                                                                                          ื
                              ื
                       4.2  เคร่องมือการวิจัย เคร่องมือวิจัยมี 5 ชนิดและอุปกรณ์ท่ใช้ ได้แก่ กล้องถ่ายภาพ เคร่องบันทึกเสียง เคร่องมือ
                วิจัยมีรายละเอียดดังนี้
                                                                                            �
                           แบบสอบถามผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์มีความยาว 4 หน้า ออกแบบโดยผู้วิจัย มีลักษณะเป็นคาถามปลายปิด แบ่งเป็น
                2  ส่วนย่อย  คือ  ส่วนที่  1  ความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพในส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายสมัย
                สงครามโลกครั้งที่ 2 และส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไป
                           แบบสังเกตพฤติกรรมการเดินชมของผู้เข้าชมในพิพิธภัณฑ์ มีความยาว 3 หน้า ออกแบบโดยผู้วิจัย แบบสังเกต
                ประกอบด้วยผังพฤติกรรมการเดินชมของผู้เข้าชมส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
                           แบบสังเกตสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในพิพิธภัณฑ์มีความยาว 11 หน้า ออกแบบโดยผู้วิจัย แบ่งเป็น

                4 ส่วนย่อย คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปและสถานที่ตั้ง ส่วนที่ 2 ลักษณะสภาพแวดล้อมโดยรอบส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่าย
                                                                             ั
                                                                                    ั
                                                                                                   ั
                                                                                      ุ
                               ั
                                 ่
                                 ี
                สมยสงครามโลกครงท  2  ส่วนท  3  ลกษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจดแสดงวตถ  และภาพถ่ายสมยสงครามโลก
                   ั
                               ้
                                         ่
                                              ั
                                         ี
                ครั้งที่ 2 และส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2
                จังหวัดกาญจนบุรี
                                                                                      ั
                           แบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่หรือบคลากรของพิพิธภัณฑ์สงครามโลกคร้งท 2 จังหวดกาญจนบุรีมความยาว 5 หน้า
                                                                                                 ี
                                                  ุ
                                                                                ่
                                                                                ี
                                                                              ั
                                             ี
                ออกแบบโดยผู้วิจัย  มีลักษณะเป็นค�าถามปลายเปิด  แบ่งเป็น  2  ส่วนย่อย  คือ  ส่วนที่  1  ค�าถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป  และ
                ส่วนที่ 2 ค�าถามเกี่ยวกับลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
                           แบบสัมภาษณ์ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่  2  จังหวัดกาญจนบุรี  มีความยาว  8  หน้าออกแบบโดย
                ผู้วิจัย มีลักษณะเป็นค�าถามปลายเปิด แบ่งเป็น 2 ส่วนย่อย คือ ส่วนที่ 1 ค�าถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป และส่วนที่ 2 ค�าถาม
                เกี่ยวกับลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                              95    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105