Page 112 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 112

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                    �
                                                                      ื
                                                                   ั
                                  ี
                                           ื
                                                  ิ
                ในการรองรับนักท่องเท่ยวสูงวัย เน่องจากมีส่งอานวยความสะดวกข้นพ้นฐาน เช่น การมีทางลาดบริเวณบาทวิถี และสถานท ี ่
                ท่องเที่ยว การมีห้องน�้าสาธารณะที่รองรับกลุ่มผู้สูงวัย เป็นต้น จากแนวคิดการท่องเที่ยวแบบไม่เร่งรีบ มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง
                กับที่พัก คือ Slow Accommodation กล่าวคือ เป็นสถานที่พักมีความสงบ สะอาด ปลอดภัย อยู่ห่างจากแหล่งที่มลภาวะ
                เป็นพิษ  มีขนาดเล็ก  เรียบง่าย  มีสภาพแวดล้อมกลมกลืนท่ามกลางธรรมชาติหรือท้องถ่นไม่ก่อให้เกิดความแตกต่าง  และ
                                                                                    ิ
                            ั
                ความขัดแย้งท้งในด้านทัศนียภาพและสังคมวัฒนธรรมในพ้นท่  เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมท้งด้านการก่อสร้าง  การให้บริการ
                                                                           ิ
                                                                                     ั
                                                              ื
                                                                ี
                                                                                       ิ
                                                                             ี
                                                                     ื
                การประหยัดพลังงาน  และการควบคุมมลพิษ  มีการจ้างงานและจัดซ้อวัตถุดิบท่มาจากท้องถ่น  (ชลดรงค์  ทองสง,  2558)
                                                                                            ี
                  ึ
                ซ่งเข้าเกณฑ์ท่พักประเภทเกสท์เฮ้าส์ท่มีการดัดแปลงจากบ้านเดิมมาเป็นท่พักเพ่อรองรับนักท่องเท่ยว  จากเหตุผลข้างต้น
                            ี
                                                                         ี
                                                                              ื
                                              ี
                จึงส่งผลกับการออกแบบเกสท์เฮ้าส์ที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวสูงวัยยุคเบบี้บูมเมอร์  จากการวิจัยของสมยศ  วัฒนากมลชัย
                และ  เยาวลักษณ์  ยิ้มอ่อน  (2553)  พบว่าผู้สูงวัยต้องการที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมที่ต่างจากกลุ่มวัยอื่น  คือ  นิยมมีสิ่ง
                 �
                อานวยความสะดวก เช่น การเดินทางที่ยานพาหนะเข้าถึงง่าย และรายละเอียดปลีกย่อยของวัสดุอุปกรณ์ เช่น ความสูงของ
                                                                                                   �
                ลูกตั้งบันได  ความชันของทางลาด  ความสูงของสวิตช์ไฟ  ราวจับ  ลักษณะของลูกบิด  กลอนประตูและก๊อกน้า  ประตูกว้าง
                และระดับพื้นที่ไม่สูง เป็นต้น (จิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย, 2557)
                                                                        ี
                       จากงานวิจัยท่ผ่านมาพบว่า มีแต่การศึกษาศักยภาพของสถานท่ท่องเท่ยวในตัวเมืองน่านท่เป็นไปตามเกณฑ์ Slow
                                                                             ี
                                  ี
                                                                                            ี
                                                                           ี
                                      ี
                         ี
                Tourism  ท่รองรับนักท่องเท่ยวสูงวัย  ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาศักยภาพของท่พักท่เข้าเกณฑ์  Slow  Tourism  เพ่อรองรับ
                                                                                                       ื
                                                                               ี
                                  ี
                                                 �
                        ี
                                     �
                                                                               �
                นักท่องเท่ยวสูงวัย ท้งน้จึงนากฎกระทรวงกาหนดส่งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา
                                ั
                                                       ิ
                                                         �
                                                          �
                                                                      ี
                พ.ศ. 2548 มาใช้สารวจส่งอานวยความสะดวกพ้นฐานสาหรับนักท่องเท่ยวสูงวัย (ท่จอดรถ ทางลาด ป้ายสัญลักษณ์ การให้
                                    ิ
                                                                               ี
                               �
                                                     ื
                                      �
                                                              ี
                                          �
                                 �
                บริการข้อมูลและห้องนาสาธารณะสาหรับผู้สูงวัย) กล่าวคือ มีท่จอดรถสาหรับผู้สูงวัยกว้างและยาวไม่น้อยกว่า 2.40 x 6.00 เมตร
                                                                     �
                                 ้
                                                                                     ี
                ความชันของทางลาดไม่เกิน  1:12  ป้ายสัญลักษณ์ท่มองเห็นชัดเจน  ส่วนบริการข้อมูลท่เข้าถึงสะดวกและสังเกตเห็นง่าย
                                                         ี
                และมีห้องน�้าสาธารณะส�าหรับผู้สูงวัยอย่างน้อย  1  ห้อง  เป็นต้น  สิ่งอ�านวยความสะดวกเพิ่มเติมส�าหรับนักท่องเที่ยวสูงวัย
                                           ื
                                                                                           ้
                                                                                           �
                (ทางเข้าอาคาร ประตูทางเข้า ทางเช่อมระหว่างอาคาร-ระเบียง บันไดห้องพักสาหรับผู้สูงวัยและห้องนาภายในห้องพัก) กล่าวคือ
                                                                          �
                                                                           ้
                                                                                ้
                                                                                                      ่
                                                                        ้
                                                                                                      ื
                                                                   ู
                                          ั
                                             �
                                ิ
                            ี
                             ื
                                                             ั
                ทางเข้าอาคารมพ้นผวเรียบเสมอกน ทาทางลาดหากต่างระดบ ประตทางเขากวางไม่นอยกว่า 90 เซนติเมตร ทางเชอมระหว่าง
                อาคาร-ระเบียงต้องอยู่ระดับเดียวกับพื้นภายนอก ความสูงของลูกตั้งบันไดไม่เกิน 15 เซนติเมตร และควรมีห้องพักส�าหรับ
                ผู้สูงวัยโดยมีห้องน�้าที่ออกแบบส�าหรับผู้สูงวัยภายใน
                5. วิธีด�าเนินการวิจัย
                                                                                     �
                               ี
                                                                              �
                                                                                   ิ
                                                            ั
                                                                                                    �
                       การวิจัยน้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในระยะเวลาส้น  เก็บข้อมูลโดยการสารวจส่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงวัย
                                                                                           ี
                                                                                                          �
                                                        ี
                ในเกสท์เฮ้าส์ สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ และนักท่องเท่ยวสูงวัยชาวไทยภายในเกสท์เฮ้าส์ ย่านท่องเท่ยวทางวัฒนธรรม อาเภอ
                เมือง จังหวัดน่าน 4 แห่ง มีรายละเอียด ดังนี้
                       5.1  กรณีศึกษา และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนส�าคัญ
                           กรณีศึกษา ได้แก่ เกสท์เฮ้าส์ท่ต้งอยู่ในย่านท่องเท่ยวทางวัฒนธรรม อาเภอเมือง จังหวัดน่าน โดยท่เกสท์เฮ้าส์
                                                                                                      ี
                                                   ั
                                                  ี
                                                                                �
                                                                 ี
                กรณีศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ของ Slow Accommodation ของชลดรงค์ ทองสง (2558) และให้ความร่วมมือในการท�าวิจัย
                                                                                                 ิ
                                              ื
                                                                     ุ
                                            ี
                                                                                          ื
                โดยได้กรณศกษา  จานวน  4  กรณ  คอ  1)  บ้านๆ  น่านๆ  ห้องสมด  แอนด์  เกสท์โฮม  2)  เฮอนน่านนทรา  เกสท์เฮ้าส์
                         ี
                                �
                          ึ
                3) เฮือนช้างเผือก เกสท์เฮ้าส์ 4) เฮือนม่วนใจ เกสท์เฮ้าส์ ตามตารางที่ 1 ดังนี้
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             107    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117