Page 131 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 131
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
ี
ั
ี
ปัญหาเร่องท่จอดรถคนพิการ จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าท้ง 3 โรงพยาบาล ไม่มีท่จอดรถส�าหรับคนพิการ
ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานที่ว่าอาคารสาธารณะต้องมีพื้นที่จอดรถส�าหรับคนพิการ มีพื้นที่ข้างรถไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้
ี
ี
ื
ั
ี
วีลแชร์ออกมา มีป้ายหรือสัญลักษณ์บอกจุดจอดรถส�าหรับผู้พิการท้งท่เป็นป้ายต้งและสัญลักษณ์ท่พ้นท่จอดรถ (ส�านักงาน
ั
คณะกรรมการกฤษฎีกา, 2549) ปัญหาเนื่องจากผู้ออกแบบไม่ได้ค�านึงถึง
ปัญหาทางลาด จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าทั้ง 3 โรงพยาบาล ทางลาดชันไม่ได้มาตรฐาน มีความชันเกิน 1:12
ื
ึ
และมีพ้นต่างระดับเกิน 2 เซนติเมตร ไม่มีการปาดมุมทางข้น และทางลงทางลาด ไม่มีพ้นผิวต่างสัมผัส ซ่งขัดแย้งกับ
ึ
ื
มาตรฐานสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการ ทางลาดชัน 1:12 ถ้ามีทางต่างระดับพื้นห่างกันเกิน 2 เซนติเมตร ให้ปาด
มุม 45 องศา ทางลาดด้านที่ไม่มีผนังกั้นให้การยกขอบสูง 5 เซนติเมตร มีพื้นผิวต่างสัมผัสมีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร
ื
ในส่วนทางข้น และทางลงทางลาด (ส�านักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, 2555) ปัญหาเน่องจาก
ึ
โรงพยาบาลสร้างมาเป็นระยะเวลานาน
ปัญหาเรื่องป้ายสัญลักษณ์ จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าทั้ง 3 โรงพยาบาล ป้ายชี้ทางแสดงต�าแหน่งสัญลักษณ์
คนพิการยังมีไม่ครบ ขาดป้ายชี้ทางไปห้องต่างๆ ขาดป้ายแสดงต�าแหน่งทางลาด โรงพยาบาลชุมชนใช้สัญลักษณ์คนพิการ
ี
ิ
ยังผิดสี ซ่งขัดแย้งกับมาตรฐานส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการในหมวดป้ายและสัญลักษณ์ท่ต้องแสดงป้ายแสดง
ึ
ต�าแหน่ง และ มีเคร่องหมายแสดงทางไปส่งอ�านวยความสะดวก มีสัญลักษณ์รูปคนพิการน่งวีลแชร์ พ้นสีขาวโดยพ้นป้าย
ั
ื
ิ
ื
ื
�
ื
เป็นสีน้าเงิน หรือเป็นสีน้าเงินโดยพ้นป้ายเป็นสีขาว (ส�านักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, 2555)
�
ปัญหาเนื่องจากผู้ออกแบบไม่ได้ค�านึงถึง
ปัญหาเร่องห้องน้าคนพิการ จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าห้องน้าคนพิการโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลชุมชน
ื
�
�
ไม่มีสัญลักษณ์รูปคนพิการติดไว้ที่ประตูห้องน�้าคนพิการ ทั้ง 3 โรงพยาบาลราวจับบริเวณโถส้วมเป็นแบบติดตาย และไม่มี
ี
ึ
ระบบสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินในห้องน�้า ซ่งขัดกับมาตรฐานส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการท่ว่า ห้องน้าคนพิการ
�
ิ
ติดสัญลักษณ์คนพิการที่ประตูมีสัญญาณฉุกเฉินในห้องน�้าคนพิการ ติดตั้งราวจับแบบพับเก็บได้ และติดตั้งพื้นผิวต่างระดับ
ในห้องน�้าที่มีทางลาด (ส�านักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, 2555) ปัญหาเนื่องจากผู้ออกแบบไม่ได้
ค�านึงถึง
ปัญหาเรื่องเคาน์เตอร์ติดต่อสอบถาม จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าเคาน์เตอร์โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต�าบลมีความสูงเกิน 80 เซนติเมตร และทั้ง 3 โรงพยาบาล ไม่มีพื้นที่ว่างใต้โต๊ะส�าหรับวีลแชร์ ไม่มีแผนผัง
ี
การใช้บริการอาคาร เอกสารข้อมูลข่าวสาร การประกาศข้อมูลส�าหรับคนพิการทางการเห็น ไม่มีการประกาศข้อมูลท่เป็น
อักษรไฟวิ่ง หรือป้ายแสดงความหมายส�าหรับคนพิการทางการได้ยิน ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับ
ื
ี
ื
คนพิการท่ว่าเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ของคนพิการ ให้มีความสูง 80 เซนติเมตร และมีพ้นท่ว่างใต้โต๊ะสูงจากพ้น 75 เซนติเมตร
ี
ี
มีความกว้างไม่น้อยกว่า 40 เซนติเมตร มีการจัดท�าแผนผังการใช้บริการอาคารหรือสถานท่ เอกสารหรือข้อมูลข่าวสารส�าหรับ
ิ
ี
ี
ี
ื
การเผยแพร่ในรูปแบบของส่อเสียง หรือตัวอักษรส�าหรับคนพิการทางการเห็น และเพ่มเจ้าหน้าท่ผู้เช่ยวชาญท่ผ่านการอบรม
ั
ิ
ั
�
ู
สาหรบคนพการ (สมาคมสถาปนกสยามในพระบรมราชปถมภ สถาบนสถาปนกสยาม, 2552) ปญหาเนองจากผ้ออกแบบ
่
ื
ิ
ู
ั
ิ
์
ั
ไม่ได้ค�านึงถึง
ปัญหาเร่องราวจับบันได จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าโรงพยาบาลท้ง 3 แห่ง ราวจับบริเวณทางลาดใหญ่กว่า
ั
ื
3-4 เซนติเมตร และมีราวจับระดับเดียว ซ่งขัดแย้งกับมาตรฐานส่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการท่ว่าราวจับกลมควรม ี
ิ
ึ
ี
เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร เพิ่มราวจับให้มีสองระดับและปลายราวจับให้โค้งวกลงด้านล่าง (ส�านักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา, 2556) ปัญหาเนื่องจากผู้ออกแบบไม่ได้ค�านึงถึง
ี
ี
ั
ื
ื
ปัญหาเร่องท่พักคอยของผู้มาใช้บริการ จากการสังเกตของผู้วิจัย พบว่าโรงพยาบาลท้ง 3 แห่ง ไม่มีพ้นท่จอดส�าหรับ
วีลแชร์ในโถงพักคอย ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานที่ว่า ในส่วนพักคอยผู้มาใช้บริการต้องเพิ่มพื้นที่เฉพาะส�าหรับวีลแชร์อย่างน้อย
1 ที่ (ส�านักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, 2555) ปัญหาเนื่องจากไม่ได้เตรียมพื้นที่ไว้
Vol. 8 126