Page 136 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 136

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                cane is good. Therefore, this group paid more attention to the function than the image, 2) I’m strong group:
                they had negative attitude toward walking canes from their attitudes toward image that the canes are used
                by  weak  patients.  Therefore,  they  paid  attention  to  the  looks  of  the  canes  that  would  disguise  aging,  3)  I
                independent group: they had negative attitude toward walking cane similar to I independent group but different
                by their experiences of product quality perceived there body postures when using the cane or umbrella makes
                them fell weak.Therefore, they want the product image that does not indicate that they are using canes, 4) No
                problem group: their attitudes toward walking cane are neither positive nor negative from their attitudes toward

                images that the canes are medical devices. Therefore, they can use all types, but only when their knee illness
                is severity, then the use is necessary of the canes.


                Keywords: Attitude, Elderly Women with Knee Osteoarthritis, Walking Cane


                1. บทน�า


                       โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาสุขภาพที่พบมากในสตรีผู้สูงอายุมากกว่าผู้สูงอายุชาย สาเหตุจากการลดลงของฮอร์โมน
                                                                                                   ้
                                                                                                   �
                          ี
                                                                     �
                                                                                                ี
                เอสโทรเจนท่ช่วยในการซ่อมแซมเซลล์กระดูกอ่อนภายหลังหมดประจาเดือน  กระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อท่รับนาหนักร่างกาย
                                                                           �
                จึงเกิดการสึกกร่อนขณะเคล่อนไหวจะมีอาการปวดข้อยึดติด เป็นอุปสรรคการดาเนินชีวิตประจาวัน (วรวิทย์ เลาห์เรณู, 2546)
                                                                                       �
                                     ื
                อาการข้อเข่าเส่อมอาจมีความรุนแรงมากข้นตามอายุ แม้ว่าโรคน้จะรักษาไม่หายแต่ควรได้รับการรักษาเพ่อควบคุมอาการของ
                            ื
                                                                 ี
                                                                                               ื
                                                ึ
                                                                                                        ี
                โรคป้องกันภาวะทุพพลภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต  การใช้ไม้เท้าจัดเป็นวิธีหน่งของการรักษาโรคข้อเข่าเส่อมท่ช่วยลด
                                                                                                     ื
                                                                                ึ
                                                                                        ้
                แรงกระทาต่อข้อ  แบ่งเบาการลงนาหนักขาข้างท่มีอาการปวดประมาณร้อยละ  20-25  ของนาหนักร่างกาย  (ศูนย์สมเด็จ
                        �
                                           ้
                                           �
                                                                                        �
                                                      ี
                                                             ั
                                                                                                ื
                                                                                                             ึ
                                    ื
                                                                                                       ี
                                                      ิ
                พระสังฆราชญาณสังวรเพ่อผู้สูงอายุ,  2554)  เพ่มความม่นคงในการทรงตัวจากขนาดฐานรองรับการเคล่อนไหวท่กว้างข้น
                                                               ี
                ทาให้ผู้สูงอายุสามารถเดินได้อย่างปลอดภัย  ผู้วิจัยได้ลงพ้นท่สังเกตพฤติกรรมการดาเนินชีวิตสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม
                                                             ื
                                                                                 �
                                                                                                            ื
                  �
                             ี
                                                         ี
                 �
                จานวน  7  คนท่มีการทากิจกรรมเดินทางออกนอกท่พักอาศัยไปสถานท่ต่างๆ  และสัมภาษณ์สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม
                                                                        ี
                                   �
                                                                                                            ื
                พบว่าไม้เท้าขาเดียวเป็นอุปกรณ์ช่วยเดินท่มีความเหมาะสมในการใช้งานมากท่สุด  สามารถใช้งานได้ทุกสถานการณ์ท้งพ้น
                                                                                                          ั
                                                                            ี
                                                 ี
                                                                                                             ื
                                                                                    ั
                                                                                ื
                               ี
                            ื
                ต่างระดับหรือพ้นท่ขนาดจากัด พกพาสะดวก อย่างไรก็ตามสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท้ง 7 คนไม่ใช้ไม้เท้าขาเดียวพยุงตัว
                                    �
                เพราะมีทัศนคติเชิงลบต่อไม้เท้าขาเดียวว่าเป็นสิ่งแสดงถึงบุคคลทุพพลภาพมีความเสื่อมทางร่างกาย เกิดความรู้สึกไม่มั่นใจ
                หากต้องใช้งานเข้าสังคมร่วมกับผู้อ่นสอดคล้องกับ (สุปรีชา โมกขะเวส, 2547) อธิบายว่าผู้มีภาวะข้อเข่าเส่อมส่วนใหญ่ไม่ยอมรับ
                                                                                             ื
                                          ื
                ในการใช้งานไม้เท้าเพราะเป็นสัญลักษณ์ความชรา
                       ทัศนคติมีอิทธิพลต่อการกระท�าของบุคคล  (ด�ารงศักดิ์  ชัยสนิท,  2534)  อธิบายว่า  ทัศนคติ  คือ  ความรู้สึกนึกคิด
                              ิ
                                  ิ
                         ี
                ของบุคคลท่มีต่อส่งใดส่งหน่ง ผ่านประสบการณ์ และการเรียนรู้ กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมในทางสนับสนุนหรือต่อต้าน
                                     ึ
                   ั
                                                                    ื
                ส่งน้น กล่าวได้ว่าการไม่ใช้ไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมเป็นผลมาจากประสบการณ์การรับรู้ การใช้ผลิตภัณฑ์
                 ิ
                                                                                                ื
                                                                                                   ่
                ส่งผลให้เกิดทัศนคติเชงลบต่อการใช้ไม้เท้าขาเดียว ผ้วจัยต้องการศกษาทศนคตของสตรผสูงอายุโรคข้อเข่าเสอมทมีต่อรูปลักษณ ์
                                                                                                ่
                                                                                                   ี
                                                                 ึ
                                                                                  ู้
                                                                                 ี
                                                                          ิ
                                                                      ั
                                                       ู
                                                        ิ
                                 ิ
                                                                                                           ื
                ไม้เท้าขาเดียว เน่องจากทัศนคติมีส่วนส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้หรือไม่ใช้ไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม
                             ื
                แต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน การศึกษาดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ
                2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                       ศึกษาทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             131    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141