Page 132 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 132
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
ื
ปัญหาเร่องห้องนวดมีพ้นท่ว่างระหว่างเบาะนวดน้อย จากการสังเกตของผู้วิจัย พบว่าโรงพยาบาลชุมชนในส่วน
ื
ึ
ี
ื
ี
ขนาดพ้นท่ว่างระหว่างเบาะนวดมีระยะห่างเพียง 50 เซนติเมตร ซ่งขัดแย้งกับมาตรฐานท่ว่าห้องนวดมีพ้นท่ระหว่างเตียงนวด
ี
ื
ไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ปัญหาเนื่องจากพื้นที่จ�ากัดไม่เพียงพอ
ื
�
้
ปัญหาเร่องประตูห้องอบไอนาและกระโจมสมุนไพร จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าด้านบนประตูห้องอบสมุนไพร
และห้องกระโจมอบสมุนไพรของโรงพยาบาลศูนย์ไม่มีช่องมองกระจกระดับสายตา โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพต�าบล ประตูเปิดเข้าจากด้านใน ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานที่ว่าด้านบนประตูห้องอบสมุนไพรควรเพิ่มช่องมองกระจกใส
ระดับสายตา และประตูห้องอบไอนาเปิดออกจากด้านใน (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ปัญหา
�
้
เนื่องจากผู้ออกแบบไม่ได้ค�านึงถึง
ื
ปัญหาเร่องฝ้าในห้องอบไอนา จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าฝ้าในห้องอบไอนาสมุนไพรของโรงพยาบาลศูนย์ยังเป็น
้
�
้
�
ฝ้าแบบทีบาร์วัสดุเป็นยิปซัมไม่กันน�้า ไม่มีระบบควบคุมอุณหภูมิ ในห้องอบไอน�้าไม่มีกริ่งเรียกกรณีฉุกเฉิน ท่อกระจายไอน�้า
ไม่มีฉนวนกันความร้อน ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานห้องอบไอน�้าที่ว่า พื้น ผนัง เพดาน ท�าด้วยวัสดุคงทน ไม่ทาสี หลอดไฟใช้
ชนิดแบบกันความชื้นมีฝาครอบ มีระบบควบคุมอุณหภูมิในห้องอบไอน�้า มีกริ่ง หรือ กระดิ่งสัญญาณที่ไม่ใช่ระบบไฟฟ้ากรณี
ื
้
ฉุกเฉิน ท่อกระจายไอนามีฉนวนหุ้ม (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ปัญหาเน่องจากผู้ออกแบบไม่ได้
�
ค�านึงถึง
้
้
ู
ื
่
ิ
ี
้
้
่
ื
ปญหาเรองหองเปลยนเส้อผา จากการสังเกตของผวิจัยพบว่าโรงพยาบาลส่งเสรมสขภาพตาบลไม่มหองเปลยนเสอผา
ื
้
ี
ี
ุ
ั
่
้
�
ื
ี
ี
ึ
ซ่งขัดแย้งกับมาตรฐานท่ว่ามีห้องเปล่ยนเส้อผ้าชายและหญิง แต่หากไม่สามารถแยกห้องชายและหญิงได้ต้องบริหารจัดการ
เรื่องเวลาการใช้ (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ปัญหาเนื่องจากพื้นที่ไม่เพียงพอ
ี
ั
ั
้
ปัญหาเร่องห้องส้วม จากการสังเกตของผู้วิจัย พบว่าโรงพยาบาลชุมชนยังมีห้องนาท่ใช้โถน่งส้วมแบบน่งยอง ซ่งขัดแย้ง
ึ
�
ื
่
ั
�
ิ
ู
ั
ื
่
ี
ั
้
้
่
ี
ิ
ี
กบมาตรฐานทวาตองมโถสวมชนดนงราบสง 45 เซนตเมตร (สานกงานคณะกรรมการกฤษฎกา, 2556) เนองจากโรงพยาบาล
่
สร้างมานาน
ปัญหาเร่องส่วนเก็บของผู้ท่มาใช้บริการแพทย์แผนไทย จากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ื
ี
�
ึ
�
ตาบลไม่มีตู้เก็บของ ซ่งขัดแย้งกับมาตรฐานต้องมีตู้สาหรับเก็บของหรือระบบรับฝากของ ต้องมีตู้เก็บของของผู้รับบริการม ี
ที่ล็อก (กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 2558) ปัญหาเนื่องจากมีพื้นที่น้อย
ู
ั
ั
่
ื
่
ั
้
ู
�
้
ิ
ั
ปญหาเรองบนได จากการสงเกตของผวจย พบวาลกตงและลกนอนของโรงพยาบาลสงเสรมสขภาพตาบลผดมาตรฐาน
ู
ั
ิ
่
ิ
ุ
คือ ลูกตั้งสูง 18 เซนติเมตร ลูกนอนมีความกว้าง 28 เซนติเมตร พื้นผิวลื่น ไม่มีพื้นผิวต่างสัมผัส ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐาน
บันไดให้มีลูกต้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร ลูกนอนกว้างไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร พ้นผิวไม่ล่นทาพ้นผิวต่างสัมผัสก่อนทางข้น
ึ
ื
ื
�
ั
ื
ชานพักและขั้นสุดท้าย (ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2556) ปัญหาเนื่องจากโรงพยาบาลสร้างมาเป็นระยะเวลานาน
6. ข้อเสนอแนะ
6.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงส่วนการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง
ั
ิ
1. ควรตดตงพดลมดดอากาศในสวนหองนวดท่มการประคบสมนไพรและสวนทบหมอเกลอ เพอระบายอากาศ
ื
่
้
้
่
ี
ี
ุ
ู
ื
ั
่
ั
้
2. ขยายขนาดประตูของห้องอบไอน�้าเป็นขนาด 90 เซนติเมตร เนื่องจากวีลแชร์บางคันมีขนาดใหญ่กว่า 70
เซนติเมตร ไม่สามารถเข้าได้
ี
ั
3. ควรติดต้งกระด่งสัญญาณท่ไม่ใช้ระบบไฟฟ้าเรียกในกรณีฉุกเฉินในห้องอบสมุนไพรและกระโจมอบสมุนไพร
ิ
6.2 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุงส่วนแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์
ี
1. ห้องอบไอนาควรเปล่ยนฝ้าเป็นวัสดุท่กันนา คงทน อุปกรณ์ไฟฟ้าควรเป็นชนิดท่กันความช้นแบบมีฝาครอบ
้
�
ี
ื
ี
้
�
และควรติดตั้งฉนวนหุ้มท่อ กระจายไอน�้า
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
127 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.