Page 135 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 135
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว
Attitude of Elderly Women with Knee Osteoarthritis
that Affects the Image of Walking Cane
วสุ นันทดี ญาดา ชวาลกุล 2
1
บทคัดย่อ
ี
ึ
ื
บทความฉบับน้เป็นส่วนหน่งของการวิจัยเร่องการออกแบบรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียวเพ่อส่งเสริมภาพลักษณ์สตร ี
ื
ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้ไม้เท้า
ขาเดียว ผู้วิจัยศึกษาทบทวนวรรณกรรมสรุปเป็นกรอบแนวคิดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรมท่มีต่อไม้เท้า
ี
่
้
ุ
ั
ี
์
้
ี
ู
ู
ู
้
ิ
ุ
่
ขาเดยวโดยการสมภาษณสตรผสงอายโรคขอเขาเสอมในชมรมผสงอายของโรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสน โรงพยาบาล
ื
ู
ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จ�านวน 27 คน วิเคราะห์ข้อมูล และน�าผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาจ�าแนกกลุ่มสตรีผู้สูงอายุโรค
ข้อเข่าเสื่อมตามทัศนคติที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว คือ 1) กลุ่มฉันยินดี มีทัศนคติที่ดีต่อไม้เท้าขาเดียวจากประสบการณ์
ี
ุ
ั
ึ
้
ี
�
ู
ี
่
ี
ิ
ี
ู
ึ
ั
ในการรบร้ถงคณภาพผลตภณฑ์ททาให้มความร้ ความเข้าใจไม้เท้าขาเดยวเชงบวก ความต้องการไม้เท้าขาเดยวกล่มนจง
ุ
ิ
่
ั
ั
�
ั
ู
ิ
ี
ิ
ั
ั
คานึงด้านการใช้งานก่อนรูปลักษณ์ 2) กลมฉนยงแข็งแรง มีทศนคตเชงลบต่อไม้เท้าขาเดยวจากการรบร้ลกษณะทางกายภาพ
ุ
ึ
ุ
ั
ึ
ิ
ี
ั
ึ
ี
ั
ิ
ี
ู
็
ี
ผลตภณฑ์ว่าเป็นส่งช่วยพยงตวส�าหรับผ้เจบป่วย ความต้องการไม้เท้าขาเดยวกลุ่มน้จงค�านงถงรูปลกษณ์ท่มความสวยงาม
ช่วยอ�าพรางความชรา 3) กลุ่มฉันพึ่งตัวเอง มีทัศนคติเชิงลบเช่นเดียวกับกลุ่มฉันยังแข็งแรง แต่แตกต่างด้วยประสบการณ์
ี
การรับรู้ถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์เพราะลักษณะท่าทางการใช้งานไม้เท้าขาเดียวหรือร่มท่น�ามาใช้ช่วยพยุงตัวแทนไม้เท้าขาเดียว
ี
แสดงถึงความอ่อนแอของผู้ใช้ มีบุคคลรอบข้างเข้ามาให้การช่วยเหลือจึงท�าให้ต้องการรูปลักษณ์ท่ไม่แสดงถึงไม้เท้า 4) กลุ่มฉัน
คงใช้ได้ท้งหมด มีทัศนคติต่อไม้เท้าขาเดียวไม่มีทิศทางเชิงบวกหรือลบจากความเข้าใจในลักษณะทางกายภาพผลิตภัณฑ์
ั
ว่าเป็นอุปกรณ์ช่วยเดิน การเลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียวสามารถใช้ได้ทุกรูปลักษณ์แต่จะใช้งานก็ต่อเม่อมีระยะความรุนแรงโรค
ื
ที่มากขึ้นจ�าเป็นต้องใช้งาน
ค�าส�าคัญ: ทัศนคติ สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม รูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว
Abstract
This article is part of a research on the image design of walking cane to promote a positive image
of elderly women with knee osteoarthritis. The objective was to study the attitudes of the elderly women who
have osteoarthritis that affect the behavior of choosing walking cane. The researcher study the related literature
to conclude conceptual framework showing the relationship between attitude and behavior toward walking cane
by interviewing of 27 elderly women with knee osteoarthritis in elder club at Taksin hospital, Klang hospital
and Ladkrabang hospital, Bangkok. The analysis of data enables the classification of attitude of elderly women
with osteoarthritis that affects to walking cane as follows: 1) I welcomed group: they had positive attitudes
toward walking cane from their experiences perceived product quality to make them aware that using walking
ิ
ั
ู
ั
ุ
ี
ุ
ั
1 หลกสตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบณฑต สาขาการออกแบบอตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนเทคโนโลยพระจอมเกล้าคณ
ทหารลาดกระบัง
2 ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 8 130