Page 141 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 141

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                          ั
                                                                  ี
                                                               ิ
                                ิ
                                             ิ
                                               ั
                                                                   ู
                                                                                           ู
                                                                                       ี
                                                                                                          ี
                                                                                             ั
                                                                                  ื
                                                                    ู
                                                                                      ี
                                                                                      ่
                      จากผลการวเคราะห์ข้างต้นผู้วจยได้แบ่งกลุ่มทศนคตสตรผ้สงอายุโรคข้อเข่าเส่อมทมต่อรปลกษณ์ไม้เท้าขาเดยว
               ได้ดังแสดงในรูปที่ 3



























                               รูปที่ 3 กลุ่มทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2560)



                      กลุ่มทัศนคติที่ 1 ฉันยินดี

                                                ี
                                         ื
                      สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้มีทัศนคติต่อไม้เท้าขาเดียวเชิงบวกเพราะแรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์  จึงท�าให้ม ี
               แนวโน้มพฤติกรรมเลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียวเพื่อช่วยพยุงตัว กลุ่มนี้ประกอบด้วยสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมจ�านวน 8 คน
                                                    ั
                                                                                     ื
               คิดเป็นร้อยละ  29.6  ของจ�านวนกลุ่มตัวอย่างท้งหมด  แบ่งได้เป็นสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมระยะเร่มต้นจ�านวน  6  คน
                                                                                             ิ
               ระยะปานกลางจ�านวน  2  คน  ที่มีประสบการณ์ในการรับรู้ถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ทั้งจากเป็นผู้ดูแลบุคคลในครอบครัวที่ท�าให้
               มีความรู้ ความเข้าใจถึงผลดีและผลเสียแก่ร่างกายเม่อใช้งานและไม่ใช้งานไม้เท้าขาเดียว คิดเป็นร้อยละ 22.2 และการใช้งาน
                                                      ื
               ไม้เท้าขาเดียวเพราะเสี่ยงต่อการล้ม  คิดเป็นร้อยละ  7.4  ซึ่งมีส่วนส่งผลต่อความรู้สึกเชิงบวกในลักษณะกายภาพผลิตภัณฑ์
                ี
                                                                                                    ี
                                    ิ
                                       ี
                                                                                             ื
               ท่มองว่าไม้เท้าขาเดียวเป็นส่งท่ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการหกล้มหรืออุบัติเหตุ  สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้จึงค�านึงถึง
               คือ ด้านการใช้งาน ความแข็งแรง มั่นคง มาก่อนด้านรูปลักษณ์
                      กลุ่มทัศนคติที่ 2 ฉันยังแข็งแรง
                                                 ี
                      สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้มีทัศนคติต่อไม้เท้าขาเดียวเชิงลบเพราะแรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์  จึงท�าให้ม ี
                                          ื
                                                                                         ื
                                                            ี
               พฤติกรรมไม่เลือกใช้ไม้เท้าขาเดียวในการช่วยพยุงตัว กลุ่มน้ประกอบด้วยสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมจ�านวน 12 คน คิดเป็น
               ร้อยละ 44.4 ของจ�านวนกลุ่มตัวอย่างท้งหมด แบ่งได้เป็นสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมระยะเร่มต้นจ�านวน 2 คน ระยะปานกลาง
                                            ั
                                                                            ื
                                                                                   ิ
               จ�านวน 10 คน ที่ทั้งจ�านวน 12 คนไม่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับการรับรู้ถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ แต่มีความรู้สึกเชิงลบจาก
               Vol.  8                                      136
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146