Page 143 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 143
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ึ
3. กลุ่มฉันพ่งตัวเอง มีทัศนคติเชิงลบเช่นเดียวกับกลุ่มฉันยังแข็งแรง แต่แตกต่างด้วยประสบการณ์การรับรู้ถึงคุณภาพ
้
้
้
้
้
่
้
้
ผลิตภัณฑเพราะลักษณะทาทางการใชงานไมเทาขาเดียวหรือรม ที่แสดงถึงความออนแอของผูใช และมีบุคคลรอบขางเขามา
่
์
่
ให้การช่วยเหลือจึงต้องการรูปลักษณ์ที่ไม่แสดงถึงไม้เท้า
้
ิ
ุ
ื
ี
ี
ิ
ั
ั
ิ
ี
4. กล่มฉนคงใช้ได้ทงหมด มทศนคตต่อไม้เท้าขาเดยวไม่มทศทางเชงบวกหรอลบจากความเข้าใจในลกษณะทาง
ั
ั
กายภาพผลิตภัณฑ์ว่าเป็นอุปกรณ์ช่วยเดิน การเลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียวจึงใช้ได้ทุกรูปลักษณ์แต่จะใช้งานกต่อเม่อมีระยะ
็
ื
ความรุนแรงโรคที่มากขึ้นจ�าเป็นต้องใช้งาน
7. อภิปรายผล
ื
ทัศนคติมีส่วนส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้ไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมโดยเป็นผลมาจากปัจจัย
ั
ื
ี
แรงกระตุ้นผลิตภัณฑ์ท่ท�าให้สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมแสดงความรู้สึกท้งเชิงบวกและเชิงลบจากความรู้ ความเข้าใจถึง
ี
คุณลักษณะและคุณภาพของไม้เท้าขาเดียวผ่านการมองเห็นและการใช้งาน กลุ่มทัศนคติเชิงบวกท่มีแนวโน้มพฤติกรรม
ื
เลือกใช้งานจากประสบการณ์ความเข้าใจถึงผลดีและผลเสียแก่ร่างกายเม่อใช้งานและไม่ใช้งานไม้เท้าขาเดียว สอดคล้องกับ
อัญญารัตน์ ใบแสง (2552) กล่าวว่า การที่บุคคลจะยอมรับนวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์นั้น ประสบการณ์การรับรู้ถึงประโยชน์
ิ
ของผลิตภัณฑ์มีส่วนส่งผลต่อการยอมรับในการใช้งานอย่างย่ง กลุ่มทัศนคติเชิงบวกจึงค�านึงถึงคุณภาพของไม้เท้าขาเดียว
ี
ั
่
่
ื
เพอการใช้งานพยงตวมาก่อนด้านรูปลักษณ์ ส่วนกลุ่มทัศนคติเชิงลบทมีพฤตกรรมไม่เลือกใช้งานไม้เท้าขาเดยว แม้ว่าไม่ม ี
ี
ุ
ิ
ประสบการณ์การใช้งานไม้เท้าขาเดียวแต่เข้าใจว่าไม้เท้าขาเดียวเป็นสิ่งแสดงถึงผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วย หรือชรามาก
จึงค�านึงถึงรูปลักษณ์ที่แปลกใหม่ สวยงามช่วยอ�าพรางความชรา อีกกรณีหนึ่ง คือ ผู้มีทัศนคติเชิงลบต่อไม้เท้าขาเดียวที่มี
่
ั
ี
ประสบการณ์ในการใช้งานไม้เท้าขาเดียวแต่ได้รบความช่วยเหลือจากบุคคลรอบข้างท่ท�าให้ตนเองรู้สึกไม่มนใจในการใช้งานไม้เท้า
ั
ี
จึงต้องการรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียวท่ไม่แสดงถึงความเป็นไม้เท้า Vaes Kristof (2014) ได้กล่าวถึง วิธีการสร้างความหมายใหม่
ี
ในผลิตภัณฑ์ (Re-Shaping the Meaning of the Product) ท่ท�าให้ผู้ใช้งานเกิดทัศนคติเชิงบวก คือ สร้างรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์
ให้มีความน่าสนใจ ผสมผสานการออกแบบให้มีความสวยงามตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน การอ�าพรางรูปลักษณ์และ
ิ
ิ
ั
ั
ิ
ิ
ิ
ุ
่
ื
ั
ั
ี
คณสมบตการใช้งานผลตภณฑ์เพอเบยงเบนความสนใจไปจากความหมายเดมของผลตภณฑ์ในเชงลบ เช่น การใช้วสด ุ
่
ุ
่
ิ
ั
ิ
็
ั
ื
โปร่งแสงไม่ให้บคคลรอบข้างเหนรปลกษณ์ผลตภณฑ์แบบเดม และการเพมประโยชน์ใช้สอยใหม่ให้กบผลตภณฑ์เพอสร้าง
ั
ิ
ิ
่
ั
ู
ความหมายใหม่ท�าให้มั่นใจในการใช้งานมากยิ่งขึ้น
8. ข้อเสนอแนะ
1. ประสบการณ์ ความเข้าใจคุณลักษณะและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ผ่านการมองเห็น และการใช้งานที่แตกต่างกัน
ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ ดังนั้นการศึกษาผลกระทบของประสบการณ์ผู้สูงอายุด้านลักษณะทาง
กายภาพหรือองค์ประกอบการออกแบบผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว วัสดุ สีสัน เป็นต้น และการใช้งาน
ผลิตภัณฑ์ จะช่วยให้นักออกแบบเข้าใจสามารถน�าความรู้ไปประยุกต์ใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ท่เสริมสร้างทัศนคติเชิงบวก ส่งผล
ี
ท�าให้เกิดพฤติกรรมการยอมรับและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะอย่างย่งอุปกรณ์ส�าหรับดูแลสุขภาพเพ่อคุณภาพชีวิตท่ดีของ
ิ
ี
ื
ผู้สูงอายุ
ื
2. การศึกษาเพ่มเติมด้านพฤติกรรมการใช้งานไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่สัมพันธ์กับสภาพ
ี
ิ
้
ี
้
ี
้
ั
่
ื
้
�
ั
ั
่
ั
้
่
ี
่
้
้
แวดลอมทงในทีพกอาศยและนอกทพกอาศย ชวงเวลาการใชงาน เพอนาขอมลมาใชในการออกแบบไมเทาขาเดยวใหมความ
ู
ั
้
สอดคล้องกับชีวิตประจ�าวันสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมมากยิ่งขึ้น
3. ปัจจัยในการสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อไม้เท้าขาเดียวจากการเก็บข้อมูลคร้งน้ คือ แรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์
ั
ี
แบ่งได้เป็น ลักษณะทางกายภาพ เช่น รูปร่าง รูปทรง สีสัน วัสดุ เป็นต้น และคุณภาพของไม้เท้าขาเดียวได้แก่ ประโยชน์
Vol. 8 138