Page 142 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 142
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
ั
ั
่
�
้
ั
ี
ื
ั
ลกษณะกายภาพไม้เท้าขาเดียวท่เป็นลักษณะท่อกลวงทรงกระบอกยาวจากระดบมือถึงพ้นขณะยืนเพอการรบนาหนก ทาจาก
�
วัสดุอลูมิเนียมหรือสแตนเลส สามารถปรับระดับได้ ท่จับมีลักษณะโค้งหรือแนวตรง และส่วนท่สัมผัสพ้นจะสวมจุกยางเพ่อป้องกัน
ื
ี
ี
ื
ี
�
ื
การล่น ว่าเป็นอุปกรณ์สาหรับผู้ท่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือมีอายุมาก ร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
�
ื
ี
ี
�
สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม กลุ่มน้จึงคานึงถึงรูปลักษณ์ความสวยงามท่ช่วยอาพรางความชรา หรือความเจ็บป่วย ดังเห็นได้
ี
จากสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม กลุ่มน้มีการเลือกใช้ร่มช่วยพยุงตัวแฝงการใช้งานไม้เท้าขาเดียวโดยเน้นการแสดงออกถึง
ื
รูปลักษณ์ของร่มที่มากกว่า อีกทั้งร่มมีความหลากหลายสีสัน ลักษณะ ให้สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมเลือกใช้
กลุ่มทัศนคติที่ 3 ฉันพึ่งตนเอง
สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้มีทัศนคติต่อไม้เท้าขาเดียวเชิงลบเพราะแรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์ จึงทาให้ม ี
�
ื
ี
พฤติกรรมไม่เลือกใช้ไม้เท้าขาเดียวในการช่วยพยุงตัว กลุ่มน้ประกอบไปด้วยสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมจานวน 3 คน คิดเป็น
�
ื
ี
ิ
ื
ั
�
�
ร้อยละ 11.1 ของจานวนกลุ่มตัวอย่างท้งหมด แบ่งได้เป็นสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมระยะเร่มต้นจานวน 1 คน ระยะปานกลาง
จ�านวน 2 คน ซึ่งทัศนคติของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม กลุ่มนี้มีความคล้ายคลึงกับกลุ่มทัศนคติฉันยังแข็งแรง แต่ส่วนที่
แตกต่าง คือ ความรสึกเชิงลบจากประสบการณ์ในการรับรู้ถงคุณภาพผลิตภัณฑ์เพราะลักษณะท่าทางการใช้งานไม้เท้าขาเดยว
ู้
ี
ึ
หรือร่มที่น�ามาใช้ช่วยพยุงตัวแทนไม้เท้าขาเดียวแสดงถึงความอ่อนแอของผู้ใช้ มีบุคคลรอบข้างเข้ามาให้การช่วยเหลือ สตรี
ี
ิ
ื
ื
ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมจึงพยายามในการเดินแทนการใช้ส่งช่วยพยุง สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้จึงต้องการรูปลักษณ์
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่แสดงถึงความเป็นไม้เท้าขาเดียวหรือรูปลักษณ์ที่ไม่แสดงถึงลักษณะการใช้งานที่ใกล้เคียงกับไม้เท้าขาเดียว
กลุ่มทัศนคติที่ 4 ฉันคงใช้ได้ทั้งหมด
ื
กลุ่มน้ประกอบด้วยสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 ของจานวนกลุ่มตัวอย่างท้งหมด
�
�
ั
ี
ี
�
ื
ึ
ิ
เป็นสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมระยะเร่มต้นจานวน 4 คน ท่มีทัศนคติต่อไม้เท้าขาเดียวเป็นอุปกรณ์ช่วยเดินซ่งเป็นความรู้สึก
ั
ี
ปกติไม่ใช่เชิงบวกหรือลบจากความเข้าใจในลักษณะกายภาพผลิตภัณฑ์ อีกท้งไม่มีประสบการณ์เก่ยวข้องกับการรับรู้ถึงคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมไม่เลือกใช้ไม้เท้าขาเดียวในการช่วยพยุงตัวไม่ได้มาจากแรงกระตุ้นผลิตภัณฑ์แต่เป็น
ี
เพราะประสบการณ์ของผู้สูงอายุจากการเปล่ยนแปลงตามวัยของบุคคลด้านร่างกายท่ระดับความรุนแรงโรคระยะเร่มต้นไม่ส่ง
ี
ิ
�
ผลกระทบต่อการทากิจกรรมในชีวิตประจาวันจึงทาให้มองเห็นถึงความจาเป็นของใช้งานไม้เท้าขาเดียวช่วยพยุงตัวน้อย สตร ี
�
�
�
ี
ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมกลุ่มน้จึงสามารถใช้ไม้เท้าขาเดียวได้ทุกรูปลักษณ์แต่จะใช้งานก็ต่อเม่อมีระยะความรุนแรงโรคท่มากข้น
ื
ื
ี
ึ
จ�าเป็นต้องใช้งาน
6. สรุปผลการวิจัย
ื
�
ี
จากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมแสดงให้เห็นถึงปัจจัยท่มีส่วนส่งผลต่อทัศนคติสตรีผู้อายุโรคข้อเข่าเส่อมนาไปสู่
พฤติกรรมการเลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียวเป็นผลมาจากปัจจัยดังนี้
ี
1. แรงกระตุ้นผลิตภัณฑ์ หมายถึง คุณลักษณะและคุณภาพของไม้เท้าขาเดียวท่ผ่านการมองเห็นและการใช้งาน
ส่งผลให้สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมแสดงความรู้สึกทั้งเชิงบวกและเชิงลบออกมา
ี
ึ
ื
2. ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ เป็นเหตุการณ์การเปล่ยนแปลงตามวัยท่สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมได้ประสบ ซ่งแบ่ง
ี
ได้เป็น ด้านร่างกาย คือ ระดับความรุนแรงของโรค และด้านสังคม คือ การลดบทบาทสถานภาพทางสังคม
ผ้วจัยได้สรปเป็นกรอบแนวคดความสมพนธ์ระหว่างทัศนคตและพฤติกรรมท่มต่อพฤตกรรมเพ่อวเคราะห์ข้อมูล
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
ี
ี
ู
ั
ิ
ิ
ั
ซึ่งสามารถจ�าแนกกลุ่มสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมตามทัศนคติที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว ดังนี้
ี
1. กลุ่มฉันยินดี มีทัศนคติท่ดีต่อไม้เท้าขาเดียวจากประสบการณ์ในการรับรู้ถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ท่ทาให้มีความรู้
ี
�
ความเข้าใจไม้เท้าขาเดียวเชิงบวก ความต้องการไม้เท้าขาเดียวกลุ่มนี้จึงค�านึงด้านการใช้งานก่อนรูปลักษณ์
2. กลุ่มฉันยังแข็งแรง มีทัศนคติเชิงลบต่อไม้เท้าขาเดียวจากการรับรู้ลักษณะทางกายภาพผลิตภัณฑ์ว่าเป็นสิ่งช่วย
พยุงตัวส�าหรับผู้เจ็บป่วย ความต้องการไม้เท้าขาเดียวกลุ่มนี้จึงค�านึงถึงรูปลักษณ์ที่มีความสวยงามช่วยอ�าพรางความชรา
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
137 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.