Page 200 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 200

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                          ื
                ตารางที่ 1  แสดงการสรุปข้อมูลเพ่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบระบบและอุปกรณ์การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์ด้วยปรัชญา
                          ของเศรษฐกิจพอเพียง

                      ข้อมูล        ความสัมพันธ์ของปัจจัย   เป้าหมายของการออกแบบ        แนวทางการออกแบบ
                                         �
                 ด้านโครงสร้าง   ลักษณะการทางานของระบบการปลูก การออกแบบที่สอดคล้องกับ  - ใช้ระบบปลูกพืชแบบให้สารละลายธาตุ
                 ของผลิตภัณฑ์    ผักไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์ที่มีผลทาง  การท�างานของระบบการปลูกผัก  อาหารไหลเวียนเป็นแผ่นบางบนราง
                                 ด้านโครงสร้างของผลิตภัณฑ์  ไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์    ปลูกอย่างต่อเนื่อง (Nutrient Film
                                                                                    Technique. NFT)
                                                                                   - ใช้น�้าหมักชีวภาพ มีระบบการกรอง
                                                                                    สารละลายที่น�ากลับมาใช้ใหม่
                 ด้านรูปแบบ      ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์  การออกแบบที่ตอบสนองต่อวิธีการ - ออกแบบแยกส่วนพื้นที่การปลูกตาม
                 ของผลิตภัณฑ์    อินทรีย์และวงจรชีวิตของพืชมีผลต่อ ผลิตพืชและสะดวกต่อการใช้งาน   ช่วงการเจริญเติบโตองพืช
                                 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ คือ ช่วงเพาะ มีการออกแบบแสดงถึงผลิตภัณฑ์  - ออกแบบโดยค�านึงถึงท�าเลที่ตั้ง
                                 เมล็ด ช่วงอนุบาลผัก ช่วงผักเจริญ ที่ค�านึงถึงสภาพแวดล้อม  สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
                                 เติบโต ช่วงเก็บเกี่ยว และช่วงคัด                  - ใช้หลักการออกแบบเชิงนิเวศ
                                 ผลผลิต                                            - การออกแบบที่ช่วยสร้างทัศนียภาพ
                                                                                    ให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างไม่
                                                                                    เบียดเบียน
                 ด้านจัดการพื้นที่ปลูก การค�านวณพื้นที่การปลูกของพืช  เพื่อหยุดการแก้ปัญหาด้านการปลูก - ออกแบบพื้นที่ปลูกพืชแต่ละชนิด
                                                            �
                                                                                  ี
                                                           ี
                 และการใช้งานของ  แต่ละชนิดจะส่งผลต่อรูปแบบการจัด ท่ทาให้ผลผลิตเสียหายโดยใช้สารเคม  ให้สอดคล้องกับฤดูกาล
                 ผลิตภัณฑ์       พื้นที่ปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิตที่เป็นพืช และหยุดใช้สารเคมีป้องกันศัตรูพืช  - ค�านวณปริมาณพื้นที่ปลูกพืชแต่ละชนิด
                                 อินทรีย์ที่ใช้ธรรมชาติภายในแปลง                    ที่เกื้อหนุนกันให้มีความสอดคล้องกัน
                                 ปลูกเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน                        - เน้นการคล่องตัวในการท�างาน
                                                                                   - การออกแบบเน้นประหยัดพื้นที่
                 ด้านการออกแบบ   การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะส่ง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  - เน้นการออกแบบทั้งวงจรของชีวิต
                 เชิงนิเวศ       ผลดีต่อธุรกิจ ชุมชนและสิ่งแวดล้อม  หรือออกแบบให้มีผลกระทบต่อ  ผลิตภัณฑ์
                                 น�าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน  สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด  - ลดการประกอบโดยออกแบบให้มี
                                                                                    ชิ้นส่วนน้อย
                                                                                   - วัสดุที่ท�าความสะอาดง่ายเพื่อการใช้ซ�้า
                                                                                   - โลหะไม่เคลือบผิว น�ามาผ่าน
                                                                                    กระบวนการแปรสภาพ (Recycle)
                                                                                    ได้ง่าย
                                                                                   - เพิ่มอายุการใช้งาน เช่น ซ่อมแซมได้
                                                                                    ง่าย เปลี่ยนชิ้นส่วนบางอย่างได้
                 ด้านการประยุกต์   กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุ่งเน้น การออกแบบจะน�าไปสู่การพัฒนาที่ - ออกแบบโดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่มี
                 ใช้หลักการเศรษฐกิจ ความมั่นคงและความยั่งยืนของการ สมดุลและยั่งยืนในทุกด้าน ทั้งด้าน  ต้นทุนต�่าแต่ถูกหลักวิชาการ
                 พอเพียงเพื่อออกแบบ พัฒนา คือ ประยุกต์ใช้ในทุกระดับ  เศรษฐกิจ สังคม ส่งแวดล้อม ความรู้ - ออกแบบพื้นที่ปลูกผักมีความสัมพันธ์
                                                                      ิ
                 ผลิตภัณฑ์       ตลอดจนให้ความส�าคัญกับค�าว่า  และเทคโนโลยี         กับการเลือกใช้ปุ๋ยชีวภาพ
                                 ความพอเพียง ประกอบด้วย                            - ออกแบบให้มีส่วนเก็บของเสีย ของเสีย
                                 ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล                        จากการคัดผลผลิตเพื่อน�ามาใช้หมักปุ๋ย
                                 มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ภายใต้เงื่อนไข            - ออกแบบให้ผลิตภัณฑ์ใช้งานได้ง่าย
                                 ความรู้และเงื่อนไขคุณธรรมจะน�าไป                  - ออกแบบแผนปฏิบัติงานการปลูกพืช
                                 สู่ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การพัฒนา                เพื่อใช้ควบคู่กับผลิตภัณฑ์
                                 ที่สมดุลและยั่งยืน

                ที่มา: ผู้วิจัย (2560)



                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             195    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204