Page 196 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 196
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
�
ี
�
ื
ี
ธาตุอาหาร สารละลายธาตุอาหารท่เกษตรกรเลือกใช้เป็นปุ๋ยเคมีท่ทางผู้ผลิตปุ๋ยมีสูตรสาเร็จเพ่อจาหน่ายให้
ี
�
ี
ั
เกษตรกรนาไปผสมตามสูตรท่เรียกว่า ธาตุอาหาร A กับธาตุอาหาร B ซึ่งเป็นท่นิยมของเกษตรกรท่วไป เพราะมีความสะดวก
ในการใช้งานและได้ผลผลิตท่ดี แต่ก็มีเกษตรกรบางรายท่มีความเช่ยวชาญ ก็สามารถดัดแปลงส่วนผสมของปุ๋ยให้เป็นสูตรเฉพาะ
ี
ี
ี
�
ี
ึ
ท่เหมาะสมกับแปลงผักของตนเองซ่งอยู่ในสภาพแวดล้อมในภาคใต้ โดยผักไฮโดรโปนิกส์ต้องการธาตุอาหารหลักจานวนมาก
คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โปแตสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) ก�ามะถัน (S) และธาตุอาหาร
ที่พืชต้องการเป็นปริมาณน้อยหรือจุลธาตุ คือ โบรอน (B) เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) โมลิบดินัม (Mo) คลอรีน (Cl)
เมล็ดพันธุ เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้เมล็ดพันธุ์แบบเคลือบ เพื่อลดความเสี่ยงของผลผลิตที่เกิดจากการเพาะเมล็ด
่
ึ
ิ
ื
ี
ิ
ี
่
ื
ู
ทไม่งอกและมผลต่อความแข็งแรงของพชในระยะเจรญเตบโต ซงตราสนค้ากมผลต่อการเลอกใช้ของเกษตรกร เช่นฤดฝน
็
ิ
ี
เลือกใช้เมล็ดพันธุ์ตราเอนซ่า (ENSA) เพราะมีการยืดของใบน้อยกว่าตราสินค้าอื่น ทั้งนี้ก็มีเกษตรกรบางรายที่ใช้เมล็ดพันธุ์
แบบไม่เคลือบพร้อมไปกับเมล็ดเคลือบเพื่อลดต้นทุน
โรงเรือน โรงเรือนในระบบไฮโดรโปนิกส์ท่เกษตรกรเลือกใช้มี 2 รูปแบบ คือ 1) โรงเรือนเด่ยวขนาดเล็กท่ปกคลุม
ี
ี
ี
เฉพาะโต๊ะ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในระยะเริ่มแรกของการปลูก 2) โรงเรือนขนาดใหญ่ที่วางโต๊ะปลูกได้หลายโต๊ะ เป็นการพัฒนาของ
เกษตรกรในด้านธุรกิจที่ต้องการขยายโรงเรือนเมื่อมีความช�านาญด้านการปลูกและมีตลาดรองรับที่เพิ่มขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยที่ท�าให้ผลผลิตเกิดความเสียหาย คือ ความร้อนที่ท�าให้อุณหภูมิของสารละลายธาตุอาหาร
สูงขึ้น หากเกิน 30 องศาเซลเซียส ปริมาณของออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน�้าลดต�่าลง ท�าให้รากพืชอ่อนแอเป็นสาเหตุให้เกิด
โรครากเน่าโคนเน่าได้ (ซึ่งอุณหภูมิของน�้าที่เหมาะสมคือประมาณ 24-28 องศาเซลเซียส) อีกปัจจัยคือผักไม่ได้รับแสงแดด
ื
ี
ี
ึ
ท่เพียงพอ ซ่งอาจเกิดจากพ้นท่นั้นมีต้นไม้หรืออาคารสูงบังแสงแดด และมีฝนตกติดต่อกันยาวนานหลายวันโดยเฉพาะภาคใต้
ส่งผลให้ผักมีอาการใบเหลืองและยืด ทั้งการเผาผลาญไนเตรทในผักไม่สมบูรณ์ เกิดปัญหาไนเตรทตกค้างถึงผู้บริโภคได้ และ
ผู้วิจัยพบว่า บ่อสารละลายธาตุอาหารรวมบ่อเดียวมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคในระบบได้ง่ายกว่าบ่อสารละลายธาตุอาหารแยก
ื
ข้อดีของระบบการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ คือ ระบบมีประสิทธิภาพใช้พ้นท่น้อย สามารถปลูกได้ตลอดปี
ี
มีความสมาเสมอของการให้นาและธาตุอาหาร ซ่งทาให้ควบคุมและป้องกันโรคได้ง่าย ช่วยลดค่าใช้จ่าย ประหยัดนา เวลาและ
�
่
ึ
�
�
้
�
้
แรงงาน ในส่วนของข้อจ�ากัดของระบบไฮโดรโปนิกส์ คือ ต้นทุนการเริ่มต้นค่อนข้างสูงทั้งระบบและโรงเรือน ตัวเกษตรกรเอง
ี
ต้องมีความรู้ ความช�านาญพอท่จะควบคุมดูแลระบบได้ และหากเกิดขัดข้องของกระแสไฟฟ้าก็จะมีผลกระทบต่อการเจริญ
เติบโตของพืชได้
4.2 อควาโปนิกส์
ู
ั
เกษตรกร กล่มตวอย่าง เป็นนกวจยและเป็นอาจารย์อย่ในสถานศกษาระดบมหาวทยาลย มระดบการศกษา
ึ
ั
ึ
ี
ิ
ั
ั
ั
ั
ุ
ิ
ในระดับปริญญาเอก ศึกษาความรู้ด้านการปลูกผักในระบบอควาโปนิกส์ด้วยตนเอง และเร่มพัฒนาระบบการปลูกท่ประยุกต์ใช้
ี
ิ
ให้เหมาะสมกับภาคใต้
�
ั
ี
ี
ื
ี
ี
ทาเลท่ต้ง การเลือกทาเลท่ต้งของระบบอควาโปนิกส์ต้องใช้พ้นท่มากกว่าระบบไฮโดรโปนิกส์ และมีพ้นท่มากพอ
�
ั
ื
ี
ี
ี
สมควร เพราะต้องใช้พ้นท่ในส่วนของระบบการเล้ยงปลาท่ต้องใช้บริเวณท่ร่มไม่โดนแสงแดด และระบบการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ื
ี
ที่ต้องการแสงแดดอย่างน้อยวันละ 6 ชั่วโมง ฉะนั้น การวางโรงเรือนต้องวางให้โรงเรือนผักได้รับแสงแดดที่เหมาะสมแต่ไม่
ส่งผลกระทบต่อบ่อปลาที่เลี้ยงในระบบ
ี
�
ระบบและอุปกรณ์การผลิต ระบบอควาโปนิกส์ทางานโดยหมุนเวียนของเสียจากปลาเปล่ยนเป็นธาตุอาหารส่งไป
ยังแปลงผักไฮโดรโปนิกส์ให้พืชได้ดูดซึมธาตุอาหารในการเจริญเติบโต ซึ่งระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เกษตรกรเลือกใช้ คือ ระบบ
การปลูกแบบให้สารละลายธาตุอาหารไหลเวียนผ่านรากพืชอย่างต่อเนื่อง (Dynamic Root Floating Technique. DRFT)
ระบบอควาโปนิกส์ต้องมีการค�านวณปริมาณการเลี้ยงปลากับปริมาณของผักให้เหมาะสม ระบบนี้เป็นการบังคับโดยทางอ้อม
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
191 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.