Page 198 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 198
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ระบบและอุปกรณ์การผลิต ระบบเกษตรอินทรีย์ แบ่งเป็น 2 แนวทาง คือ 1) เกษตรอินทรีย์ในเชิงพาณิชย์
นิยมปลูกในระบบโรงเรือน ซึ่งช่วยแก้ปัญหาการปลูกผักเมืองหนาว เช่น ผักสลัด ในฤดูฝนได้ดี ผลผลิตมีขนาดและสีเป็นที่
ั
�
ึ
�
ต้องการของตลาด ทาให้เกษตรกรมีความม่นใจและมีการขยายการลงทุนมากข้น (ฝ่ายชุมชนและผู้ด้อยโอกาส สานักงาน
ึ
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 2559) 2) เกษตรอินทรีย์แบบพ่งพาตนเอง เน้นการปลูกตามธรรมชาติ ปลูกตาม
�
�
ฤดูกาล เช่น ปลูกผักใบแข็งในฤดูฝน และปลูกทุกอย่างท่กิน กินทุกอย่างท่ปลูก ถ้ามีผลผลิตเหลือก็นาไปแจกจ่ายและนาไปขาย
ี
ี
ในส่วนของอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบอินทรีย์มีเพียงแต่อุปกรณ์การเกษตรเท่านั้น เช่น จอบ เสียม เนื่องจากเป็นเกษตรธรรมชาติ
ที่เน้นการใช้อย่างประหยัดและมีเหตุผล
ื
ธาตุอาหาร ธาตุอาหารของเกษตรอินทรีย์ คือ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักและเศษพืช เพ่อปรับปรุงบารุงดินทาให้โครงสร้าง
�
�
ของดินมีอินทรียวัตถุ ธาตุอาหารพืชและปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น และมีการใช้น�้าหมักจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
ทางด้านเกษตรเพ่อเพ่มประสิทธิภาพในการผลิตพืช โดยเฉพาะอย่างย่งการป้องกันพันธุ์พืชอ่อนแอให้รอดพ้นจากศัตรูพืช
ื
ิ
ิ
โดยเกษตรกรเป็นผู้หมักปุ๋ยข้างต้นเอง
เมล็ดพันธุ์ เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เพื่อให้เหมาะกับฤดูกาลปลูก แต่ก็มีเกษตรกรบางราย
ี
ี
ื
ึ
ื
ั
ท่เพาะเมล็ดพันธุ์เองเพ่อใช้ปลูกในคร้งต่อไปและเพ่อการพ่งตนเอง พันธุ์พืชท่ใช้ปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์มีทั้งพันธุ์ผสมเปิด
�
ื
และพันธุ์ลูกผสม แต่ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ผสมเปิดมากกว่าพันธุ์ลูกผสม เพราะพันธุ์พืชลูกผสมเม่อนาไปปลูกไม่สามารถเก็บเก่ยว
ี
ั
ั
เมล็ดพันธุ์ไว้ใช้คร้งต่อไปได้ ดังน้นบริษัทหรือเกษตรกรผู้ผลิตจึงมักเลือกใช้พันธุ์ผสมเปิด (ร่วมจิตร นกเขา. 2558) โดยเฉพาะ
ี
ี
�
พันธุ์พืชพ้นเมืองซ่งเป็นพันธุ์ท่ได้จากพันธุ์ป่าท่เกษตรกรในแต่ละท้องถ่นทาการคัดเลือกพันธุ์ปลูกมาช้านานจนสามารถปรับตัว
ื
ิ
ึ
เข้ากับสภาพแวดล้อมนั้นๆได้ดี
ึ
โรงเรือน เกษตรอินทรีย์แบบพ่งพาตนเองจะไม่ใช้โรงเรือน แต่เกษตรอินทรีย์ในเชิงพาณิชย์อาจมีโรงเรือนปกคลุม
แปลงผักเพื่อลดความเสียหายจากลมและฝน เพื่อให้ได้ผลผลิตตามความต้องการของตลาด ซึ่งโรงเรือนก็เป็นโรงเรือนเฉพาะ
แปลงปลูก ไม่ได้มีโรงเรือนขนาดใหญ่
ี
�
�
ี
ปัจจัยเส่ยง ปัจจัยท่ทาให้เกิดความเสียหายคือ ช่วงฤดูฝนท่มีฝนตกหนักและติดต่อกันยาวนานทาให้ผลผลิต
ี
มีความเสียหาย เช่นปัญหาโรคใบเน่า ใบผักบอบช�้า ผลผลิตโตไม่เต็มที่ และผลผลิตไม่เพียงต่อความต้องการ นอกจากนี้ช่วง
ฤดูร้อนท�าให้ผลผลิตเติบโตช้าแต่เมื่อเลือกปลูกผักตามฤดูกาลก็ช่วยลดความเสียหายของผลผลิตบางส่วนได้
ข้อดีของระบบ เกษตรอินทรีย์มีข้อดี คือ เกษตรกรมีสุขภาพท่ดีข้นเม่อเปรียบเทียบกับการใช้สารเคมีในการปลูก
ื
ึ
ี
ดินมีคุณภาพดีมีอินทรีย์วัตถุมากขึ้น สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศมีความอุดมสมบูรณ์เกิดการพึ่งพากันในธรรมชาติ มีต้นทุน
้
ึ
�
�
่
ิ
ี
ในการผลิตตาและทาให้มีรายได้เพ่มข้นเพราะทุกอย่างท่ใช้ ผลิตจากธรรมชาติ เช่น ปุ๋ยหมัก นาหมัก สารกาจัดแมลงท่ได้จาก
ี
�
�
สมุนไพร
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในด้านการท�าเกษตรกรรมและการท�าธุรกิจกับระบบเกษตรทั้ง 3 ระบบ
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูกภายใต้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้
ความพอประมาณ คือ การใช้ปัจจัยการผลิต ใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม คือ เลือกใช้
ี
ี
เทคโนโลยีท่มีต้นทุนการผลิตตาแต่ถูกตามหลักวิชาการและใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีปริมาณการผลิตผักท่สัมพันธ์
่
�
ั
กับการเลือกใช้ปุ๋ยชีวภาพท้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ อีกท้งการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ คือ
ั
ั
�
ในกระบวนการผลิตผักท้งหมดไม่ให้มีของเสียออกจากระบบการผลิตโดยของเสียของระบบการผลิตหน่งต้องนาไปใช้เป็นปัจจัย
ึ
ในกระบวนการผลิตอีกกระบวนการหนึ่ง และใช้แรงงงานภายในครอบครัวช่วยกันผลิตผัก
ี
ความมีเหตุผล คือ การผลิตผักตามความต้องการของตลาด โดยเลือกปลูกผักตามฤดูกาล ช่วงเวลาท่เหมาะสม
ื
ี
ผลิตผักให้มีความหลากหลายเพ่อตอบสนองผู้บริโภคท่มีความต้องการต่างกัน และเกษตรกรต้องการกินอะไรให้ปลูกอย่างนั้น
โดยด�าเนินการอย่างรอบคอบ ไม่โลภมากและไม่เน้นท�าก�าไรในระยะสั้น
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
193 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.