Page 195 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 195
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ี
ี
3.3.2 ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลการศึกษาวรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยท่เก่ยวข้อง โดยศึกษาแนวทาง
ั
ี
การปลูกผักระบบไฮโดรโปนิกส์ การปลูกผักในระบบอควาโปนิกส์ และการปลูกผักเกษตรอิทรีย์ พร้อมท้งศึกษาข้อมูลเก่ยวกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้
3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ี
ื
ี
ั
เคร่องมือท่ใช้ในการวิจัยคร้งน้ได้แก่ เทปบันทึกเสียง กล้องถ่ายรูป สมุดจดบันทึก ปากกา และแบบบันทึก
ึ
ั
้
ุ
์
่
ู
ื
ู
้
ุ
่
ั
�
่
ั
ิ
้
ู
้
ู
ั
ี
ิ
์
ั
้
์
ิ
้
ขอมล เพอใหผวจยและกลมตวอยางทาบนทกขอมลการใชงานระบบและอปกรณการปลกผกไฮโดรโปนกสอนทรยดวยปรชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
4. ผลการวิจัย
จากการศึกษาข้อมูลและลงพื้นที่แปลงผักไฮโดรโปนิกส์ อควาโปนิกส์ และเกษตรอินทรีย์ วิเคราะห์ได้ดังนี้
4.1 ไฮโดรโปนิกส์
เกษตรกร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีฐานะปานกลาง มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ศึกษาความรู้ด้านการ
ปลูกผักด้วยการเข้าฝึกอบรมและศึกษาด้วยตัวเองเพ่มเติม และเร่มปลูกผักจากแปลงขนาดเล็กเป็นงานเสริม จนมีความเช่ยวชาญ
ิ
ิ
ี
ื
และมีตลาดรองรับท่แน่นอน จึงขยายแปลงปลูกผักเพ่อท�าเป็นงานหลัก ทางด้านเกษตรกรท่มีครอบครัวจะช่วยเหลือกันภายใน
ี
ี
ครอบครัว ซึ่งเป็นระบบเกษตรที่ท�าได้ทุกคนทั้งผู้หญิงและเด็ก เพราะเป็นงานที่ไม่หนักจนเกินไป โดยผู้วิจัยพบว่าเป็นโอกาส
ที่ท�าให้เกิดเกษตรกรรุ่นใหม่ได้ง่ายขึ้น
ี
ั
ี
ั
ี
ั
ท�าเลท่ต้ง การเลือกท�าเลท่ต้งของแปลงปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ต้องเป็นบริเวณท่โดนแสงแดดอย่างน้อย 6 ช่วโมง
ข้นไป ไม่มีต้นไม้ใหญ่และอาคารสูงบังแสงแดดบริเวณแปลงผัก แต่แสงแดดย่อมมากับความร้อน หากมีความร้อนมากเกินไป
ึ
ื
ึ
ึ
ก่อให้เกิดความร้อนสะสมในโรงเรือนได้ ซ่งพ้นปูนซีเมนต์ในบริเวณแปลงผักเป็นปัจจัยหน่งท่ก่อให้เกิดการสะท้อนของความร้อน
ี
ี
ื
ั
ื
เข้าในแปลงผัก ฉะน้นบริเวณพ้นแปลงผักควรเป็นวัสดุท่ช่วยลดการสะท้อนของความร้อน เช่นการปลูกหญ้า เป็นพ้นดิน หรือ
ิ
โรยหินเกล็ด ในส่วนการวางต�าแหน่งของแปลงปลูกผักควรวางตามความยาวในแนวทิศเหนือกับทิศใต้เพ่อเพ่มพ้นท่ด้านกว้าง
ี
ื
ื
ในการรับแสงแดดช่วงเช้าให้มากขึ้น
ระบบและอุปกรณ์การผลิต ระบบไฮโดรโปนิกส์ท่เกษตรกรเลือกใช้ คือ ระบบการปลูกพืชแบบให้สารละลาย
ี
ื
ธาตุอาหารไหลเวียนเป็นแผ่นบางบนรางปลูกอย่างต่อเน่อง (Nutrient Film Technique. NFT) เพราะระบบไม่มีความซับซ้อนมาก
ช่วยประหยัดน�้าและสารละลายในแปลงผักได้ แต่ยังพบปัญหาเรื่องของความร้อนสะสมในระบบ ปัญหาน�้าทิ้งของสารละลาย
ี
ิ
ในระบบท่ปล่อยสู่ส่งแวดล้อม และปัญหาน้าท่ต้องใช้ปริมาณมากในการท�าความสะอาดระบบและอุปกรณ์ ในส่วนของอุปกรณ์
�
ี
ึ
การปลูกผักท่เกษตรกรน�ามาใช้ข้นอยู่กับระบบการให้สารละลายธาตุอาหาร ซ่งระบบการปลูกพืชแบบให้สารละลายธาตุอาหาร
ึ
ี
ไหลเวียนเป็นแผ่นบางบนรางปลูกอย่างต่อเน่องน้นมีอุปกรณ์และรางปลูกมาตรฐานจ�าหน่ายกันอย่างแพร่หลาย โดยแปลง
ั
ื
ปลูกผักมีขนาดมาตรฐาน คือ 2*6 เมตร ใช้รางปลูก 8 ราง เจาะรูบนรางมีระยะห่าง 25 เซนติเมตร และระยะห่างแต่ละราง
25 เซนติเมตร เกษตรกรเพิ่มความยาวของรางได้ตามพื้นที่ปลูก ซึ่งความยาวที่มากสุดที่สามารถปลูกผักได้ คือ 18 เมตร
แต่ความยาวและจ�านวนของรางปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์ท่เหมาะสมคือ รางปลูกท่มีความยาว 6 เมตร จ�านวน 6 แถว เนื่องจาก
ี
ี
ภายใต้ความยาวนี้รักษาอุณหภูมิของสารละลายได้คงที่ (ธวัชชัย จารุวงศ์ทยาและคณะ. 2559) เกิดความเสียหายต่อผลผลิต
ื
ั
ี
น้อยกว่ารางยาว เกษตรควบคุมโรคและแมลงได้ง่าย ท้งน้พ้นท่หน้าตัดของรางปลูกมีผลโดยตรงต่อรูปทรงและขนาดของผลผลิต
ี
ี
ี
ื
ิ
ย่งมีพ้นท่หน้าตัดมากช่วยให้ได้ผลผลิตท่มีรูปทรงท่ต้องการของตลาด ในส่วนการท�าความสะอาดแปลงปลูกผักและอุปกรณ์
ี
ิ
ั
ี
เป็นงานท่เกษตรกรใช้เวลามาก มีผลต่อรอบการผลิตในคร้งต่อไปและหากมีส่งสกปรกปะปนอยู่จะก่อให้เกิดโรคในแปลงได้ง่าย
Vol. 8 190