Page 197 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 197

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







               ไม่ให้เกษตรกรใช้สารเคมีในระบบ เพราะหากมีสารเคมีตกเข้าไปสู่ระบบ ระบบจะท�างานล้มเหลว เพราะสารเคมีเข้าไปท�าลาย
               แบคทีเรียซึ่งเป็นตัวกลางในการเปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็นไนเตรทที่น�าไปใช้กับพืช และยังเป็นพิษกับปลา ดังนั้น ระบบนี้พืช
               และปลาเจริญเติบโตไปด้วยกันโดยปลอดสารเคมี ในส่วนของอุปกรณ์ในระบบอควาโปนิกส์ คือ บ่อเล้ยงปลาทรงกลมขนาดจ  ุ
                                                                                           ี
                       ื
               400 ลิตร พ้นลาดเอียงไปสู่ศูนย์กลางหรือทรงกรวย ออกแบบให้มีการไหลวนของน�้าท�าให้ของเสียหรือตะกอนออกไปจากบ่อปลา
               ให้ได้มากที่สุด  และถูกก�าจัดด้วยการตกตะกอนในถังตกตะกอน  จากนั้นน�้าไหลลงสู่ถังกรองชีวภาพ  ภายในบรรจุวัสดุกรอง
               เพื่อให้เป็นที่ยึดเกาะของแบคทีเรีย ซึ่งกระบวนการนี้ย่อยสลายสารอินทรีย์ให้เป็นสารอนินทรีย์ จากนั้นน�้าไหลลงสู่ถังพักแล้ว
               สูบเข้าแปลงพืช ซึ่งแปลงพืชเป็นระบบปลูกที่ใช้อุปกรณ์การปลูกผักในระบบ DRFT โดยวัสดุอุปกรณ์หาได้ง่ายในท้องถิ่น

                                    �
                                                      �
                          ธาตุอาหาร น้าจากการเพาะเล้ยงสัตว์น้าอุดมไปด้วยสารอินทรีย์ หากท้งสู่แหล่งน้าอาจก่อให้เกิดปัญหาการเติบโต
                                                                             ิ
                                                ี
                                                                                     �
                                                                                            �
               และตายอย่างรวดเร็วของแพลงก์ตอนพืช  จึงจ�าเป็นต้องมีการบ�าบัดน้าดังกล่าวก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ  (วีรยุทธ
                                                                    �
               เลื่อนลอย. 2557) ฉะนั้น สารละลายธาตุอาหารในระบบอควาโปนิกส์ คือ การน�าของเสียจากการขับถ่ายของปลาในรูปแบบ
               ต่างๆ มาเล้ยงพืชให้เจริญเติบโต โดยของเสียตัวท่สามารถน�ามาแปรสภาพให้เป็นแร่ธาตุของพืช คือ สารประกอบแอมโมเนีย
                                                    ี
                        ี
                ึ
               ซ่งสารประกอบแอมโมเนียจะอยู่ในรูปของไนโตรเจนจากของเสียของปลา และใช้วิธีเปล่ยนสารประกอบแอมโมเนียให้เป็นไนเตรท
                                                                              ี
               โดยผ่านตัวกลางคือ แบคทีเรีย ซึ่งแบคทีเรียตัวนี้มีอยู่ในสภาพแวดล้อม เมื่อเปลี่ยนแอมโมเนียเป็นไนโตรเจนแล้ว ก็สามารถ
                                                           ี
               น�าสารประกอบไนโตรเจนหรือยังมีแอมโมเนียบางส่วนไปเล้ยงพืช พืชจะดูดซับสารละลายในรูปของแอมโมเนียและไนโตรเจน
                                                 ิ
                                        ้
                                        �
                                          ี
                                                ั
                                           ุ
                                                  ี
                                                                                                     ่
                                                                                          �
                                                                           ี
                                                                                                           �
                                                                                                           ้
                                                                                                     ี
                                                       ้
                                                    ้
                                                    ึ
                                                                    ุ
                                                                   ี
                                                       �
                          ิ
                              ิ
                                   �
               ไปใช้ในการเจรญเตบโต  ทาให้นามคณสมบตดขน  นาในบ่อปลาจะมคณภาพดตลอดเวลา  โดยไม่จาเป็นต้องเปลยนถ่ายนา
               ในบ่อปลาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
                          เมล็ดพันธุ์ เกษตรกรใช้เป็นเมล็ดพันธุ์แบบไม่เคลือบที่หาได้ในท้องถิ่น อยู่ในกลุ่มไม้ดอก พืชกินผล พืชกินใบ
               และสมุนไพร  ในส่วนของพันธุ์ปลานิลนั้นเป็นปลาที่ได้จากบ่ออนุบาลปลาที่มีขนาดเกิน  1  นิ้ว  หรือที่เรียกว่าปลานิ้ว  เพราะ
               หากใช้ปลาที่มีขนาดเล็กเกินไปจะท�าให้มีปริมาณธาตุอาหารไปเลี้ยงผักไม่เพียงพอ
                          โรงเรือน ระบบอควาโปนิกส์แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1) โรงเรือนส�าหรับเลี้ยงปลาที่ป้องกันแสงแดดและฝนเข้าสู่
               ถังเลี้ยงปลา 2) โรงเรือนในส่วนของระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เป็นโรงเรือนเดี่ยว
                                                                                         ี
                                                                                       ี
                                                                       ี
                          ปัจจัยเส่ยง ปัจจัยท่ท�าให้ผลผลิตเสียหาย คือ ปริมาณอาหารท่ให้ปลา จ�านวนปลาท่เล้ยง และขนาดของแปลงผัก
                                ี
                                        ี
                                                                     ื
                                                                            ิ
                                                 ึ
               ท่ปลูกต้องมีความสัมพันธ์กัน หากตัวใดตัวหน่งเพ่มหรือลดปริมาณ ส่วนอ่นก็ต้องเพ่มหรือลดปริมาณให้สัมพันธ์กันด้วย มิฉะน้น
                                                    ิ
                                                                                                           ั
                ี
               ระบบจะท�างานได้ไม่สมบูรณ์ ถ้าหากของเสียตกค้างภายในบ่อจนเกิดการเน่าเสียส่งผลกระทบต่อการด�ารงชีวิตของปลา และ
               ของเสียจะไม่เปลี่ยนสภาพไปเป็นแร่ธาตุเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตของพืช
                          ข้อดีของระบบ  อควาโปนิกส์มีข้อดี  คือ  ได้ผลผลิต  2  อย่างในเวลาเดียวกัน  ได้แก่  ปลาและผัก  ซึ่งผักที่ได้
               เป็นผักอินทรีย์ 100 เปอร์เซ็นต์และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งระบบเมื่อส�าเร็จแล้วจะใช้เวลาในการดูแลน้อย คือ เพียงการให้
                                                                      ี
               อาหารปลาในแต่ละวันไม่จ�าเป็นต้องล้างระบบบ่อยและการหมุนเวียนน้าท่มีประสิทธิภาพสามารถน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ ในส่วน
                                                                    �
               ของข้อจ�ากัดคือ ด้านต้นทุนเริ่มแรกที่ค่อนข้างสูงและมีความซับซ้อนของระบบที่มากกว่าระบบไฮโดรโปนิกส์
                      4.3  เกษตรอินทรีย์
                          เกษตรกร กลุ่มตัวอย่างมีฐานะปานกลาง มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ศึกษาความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์โดยผ่าน
               การอบรมและศึกษาด้วยตนเอง เป็นเกษตรธรรมชาติท่มีความผูกพันกันในครอบครัว มีรูปแบบการด�ารงชีวิตท่มีความพอเพียง
                                                       ี
                                                                                                 ี
               เน้นการพึ่งตนเอง แบ่งปันสังคมรอบข้างและท�าประโยชน์เพื่อสังคม
                                               ั
                                ั
                               ี
                                              ี
                          ท�าเลท่ต้ง การเลือกท�าเลท่ต้งของเกษตรอินทรีย์ คือ มีดินท่อุดมสมบูรณ์ ไม่มีต้นไม้ใหญ่บังแสงแดด ต้องได้รับ
                                                                      ี
               แสงแดดอย่างน้อยวันละ 6 ชั่วโมง แต่โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคใต้แล้วเป็นสวนยางพาราและสวนปาล์ม ฉะนั้น การเลือก
               พื้นที่ต้องให้มีระยะห่างจากต้นยางพาราพอสมควร
               Vol.  8                                      192
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202