Page 36 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 36
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
HST in case of Khonkaen Comprehensive Plan. The questionnaire survey of 257 samplings and physical survey
were collected on residents and workers in Khonkaen City. The results found that if the (The Nakornrachasima-
Nongkhai Route) finish, the project will induce the transportation mobility including transportation convenience,
reducing and calculating time, and safety for trarvel. Moreover, it will be affect to buy and develop Residential
Community around HST Station. As the potential area, the result indicated that the northern area in Khonkaen
city is more suitable area to residential development area, because of the area including education, health,
airport, government area and working place around 0.5-1.0 kilometer. Furthermore, this distance is the suitable
accessibility by walking and cycling. While, the Residential demand is requirement 2 floor single house, 204-400
square meters, 1-2 million baht, and develop building by their own.
Keywords: High-Speed Train Residential Demand Residential Development Around High Speed Train Station
1. บทน�า
ี
ิ
ึ
รถไฟความเร็วสูง เป็นหน่งในโครงการพัฒนาด้านระบบขนส่งท่จะช่วยเพ่มศักยภาพในการขนส่งของประเทศไทย
ให้มีความทันสมัย นอกจากจะได้รับประโยชน์การเดินทางท่มีความสะดวกรวดเร็วย่งข้นแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นทางด้านเศรษฐกิจ
ึ
ี
ิ
ี
ื
ิ
การค้าการลงทุน การสร้างงานและสร้างโอกาสในการดึงดูดให้ประชาชนเข้ามาในพ้นท่เพ่มมากข้น นาไปสู่การพัฒนาพ้นท ่ ี
ึ
ื
�
ี
ี
และการเปล่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ดินตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าความเร็วสูง โดยเฉพาะบริเวณรอบสถานีขนส่งรถไฟ
ิ
ั
่
่
้
ี
้
ี
็
ึ
่
่
ื
ิ
่
�
ี
ู
ั
ความเรวสง การพฒนาดงกลาวนจะกอใหเกดการพฒนาและการเตบโตของเมองทรวดเรว ซงหากไมมการวางแผน และการกาหนด
็
ั
ื
ี
ี
ี
ี
แนวทางในการพัฒนาท่ดี จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาพ้นท่ท่ไม่เหมาะสม เกิดการกระจุกตัวของกิจกรรม ในบริเวณท่มีศักยภาพ
ในการพัฒนาสูง เกิดการปะปนของกิจกรรมแต่ละประเภท จนก่อให้เกิดปัญหาต่อเมืองในอนาคต ทั้งในด้านการใช้ประโยชน์
ที่ดิน และการรองรับทางด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
ี
ี
การพัฒนาพ้นท่รอบสถานีขนส่งมวลชน หรือแนวความคิดการพัฒนาจุดเปล่ยนถ่ายการสัญจร (TOD: Transit
ื
ี
ื
Oriented Development) คือ กระบวนการจัดการพ้นท่เมืองให้เกิดความกระชับ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่ดินแบบผสมผสาน
ี
ื
ได้แก่ ท่อยู่อาศัย แหล่งพาณิชยกรรม ระบบบริการของเมือง รวมถึงพ้นท่สาธารณะรอบสถานีขนส่งมวลชน (Calthorpe, 1993)
ี
ี
ี
เป็นแนวคิดท่ให้ความสาคัญของการเดินเท้า การใช้รถจักรยาน และการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเป็นหลักในการเดินทาง
�
(ธราวุฒิ บุญช่วย, 2551)
ึ
ี
ขอนแก่น เป็นหน่งในจังหวัดเป้าหมายของแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะท่ 2
(ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย) (สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), 2557) ซ่งมีความพร้อมในการพัฒนา
�
ึ
โดยมีปัจจัยต่างๆ ที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเมือง อาทิ ความเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การลงทุน การคมนาคมขนส่งของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์รวมสถาบันอุดมศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข ความพร้อมและความทันสมัยด้านการจัดประชุม
และสัมมนาในระดับชาติและนานาชาติ (MICE City) และปัจจัยที่ส�าคัญที่สุด คือ ด้านท�าเลที่ตั้งของเมือง ซึ่งอยู่ตอนกลาง
�
ั
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ทาให้เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทุกระบบ และยังต้งอยู่บนแนวระเบียง
เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) ตัดกับแนวเชื่อมโยงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ สู่พื้นที่
ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก (Eastern Sea Board: ESB) (ส�านักงานจังหวัดขอนแก่น, 2555)
จากประเด็นดังกล่าว การพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง จะส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ในด้านต่างๆ
�
ื
หลายด้าน ผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาเพ่อหาแนวทางในการพัฒนาท่อยู่อาศัยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง กรณีศึกษาจังหวัด
ี
ื
ี
ขอนแก่น โดยมุ่งเน้นในการศึกษาความต้องการด้านท่อยู่อาศัย เพ่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูงสายกรุงเทพฯ-หนองคาย
ระยะที่ 2 (ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย) โดยก�าหนดพื้นที่ศึกษาในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และน�า
ไปสู่การก�าหนดแนวทางในการพัฒนาที่อยู่อาศัยโดยรอบสถานีอื่นๆ ต่อไปในอนาคต
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
31 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.