Page 40 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 40

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                           2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ข้อมูล
                เอกสาร บทความ สิ่งพิมพ์ หนังสือ และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม

                           ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามจะใช้โปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ SPSS/PC (Statistical Package for
                Social Sciences / Personal Computer) ในการแปลความหมายของข้อมูล
                       4.2  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

                                   ี
                              ื
                                                ั
                                                                                     ื
                                                  ี
                           เคร่องมือท่ใช้ในการศึกษาคร้งน้ ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเคร่องมือในการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง
                ประชากรที่อยู่อาศัยในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ซึ่งแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
                           ส่วนที่ 1  ข้อมูลส่วนบุคคล
                           ส่วนที่ 2  ข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
                           ส่วนที่ 3  ข้อมูลและความคิดเห็นเกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูง
                                                                               ู่
                                                                            ี
                                                        ี
                           สวนท 4  ข้อมูลด้านอุปสงค์และปัจจัยท่มีอิทธพลต่อความต้องการท่อยอาศัยเน่องจากการพัฒนารถไฟความเรวสูง
                                                                                     ื
                                ี
                                ่
                            ่
                                                                                                           ็
                                                             ิ
                5. ผลการวิจัย
                                                                                   ี
                       5.1  ลักษณะประชากร รูปแบบการอยู่อาศัย และความต้องการในการเปล่ยนแปลงท่อยู่อาศัยเปล่ยนแปลง
                                                                                                      ี
                                                                                            ี
                ด้านที่อยู่อาศัย
                           5.1.1  ลักษณะประชากร
                                ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง
                คิดเป็นร้อยละ 60.7 เพศชายคิดเป็นร้อยละ 39.3 ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.4 เป็นผู้ที่
                มีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 54.9 มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.2 และประกอบอาชีพ
                                                                                                          �
                             ี
                ข้าราชการมากท่สุด  รองลงมา  เอกชน/รัฐวิสาหกิจ  และธุรกิจส่วนตัว  คิดเป็นร้อยละ  22.6,  21.8  และ  14.4  ตามลาดับ
                                                                         ี
                                                                                      ี
                           �
                           ่
                มีรายได้เฉล่ยตากว่า 15,000 ไปจนถึง 25,000 บาทต่อเดือน และมีรายได้เฉล่ยต่อครัวเรือนเฉล่ย 30,001-60,000 บาทต่อเดือน
                         ี
                อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีขนาดครัวเรือน 4 คน โดยรายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 1
                ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลลักษณะของประชากรในพื้นที่ศึกษา
                          ตัวแปร                   คุณลักษณะ                ความถี่              ร้อยละ

                  เพศ                       ชาย                               101                 39.3
                                            หญิง                              156                 60.7

                  อายุ                      21-30 ปี                          109                 42.4
                                            31-40 ปี                          65                  25.3

                                            41-50 ปี                          35                  13.6

                                            51-60 ปี                          17                  6.6
                                            61 ปีขึ้นไป                       31                  12.1

                  สถานภาพ                   โสด                               141                 54.9
                                            สมรส                              102                 39.7

                                            หม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่         14                  5.4


                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                              35    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45