Page 39 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 39

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







                          Alonso  (1960  อ้างอิงใน  วัฒนา  อัคราวัฒนานุพงษ์,  2546,  หน้า 15)  กล่าวสรุปการเลือกที่อยู่อาศัยว่าควร
               พิจารณาปัจจัย 3 ประการ คือ
                          1. ราคาที่พักอาศัยซึ่งสัมพันธ์กับรายได้ และความสามารถในการจ่ายส�าหรับที่อยู่อาศัย
                                              ี
                                      ี
                                                                                ึ
                          2. รูปแบบของท่อยู่อาศัยท่ก่อให้เกิดความพึงพอใจให้กับผู้อยู่อาศัย  ซ่งจะสัมพันธ์กับขนาดครอบครัว  และ
               สถานภาพสมรส
                          3. ที่ตั้งของที่อยู่อาศัยจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม และระยะทางระหว่างที่อยู่อาศัยกับที่ท�างาน
                          Carter  (1975  อ้างอิงใน  สุทธิพันธุ์  พุฒิเลอพงศ์,  2552,  หน้า 15)  ได้กล่าวถึงปัจจัย  2  ประการ  ที่ควบคุม
                                                                                                           ิ
                   ั
                     ิ
                                                                                                ั
                                                                                      ั
                                                                                                         ุ
                                          ิ
                                                                         ั
                                                    ื
                                        ู
                                                                                   ู
                               ื
                                                                                 ู
               การตดสนใจในการเลอกว่าจะอย่บรเวณใดของเมอง  ได้แก่  สถานภาพทางสงคมของผ้อย่อาศย  เช่น  ระดบรายได้  บคลก
               ส่วนบุคคล และกลุ่มทางสังคม ส่วนอีกปัจจัยหนึ่ง คือ สภาพครอบครัว เช่น ครอบครัวที่ประกอบด้วยผู้สูงอายุเป็นส่วนใหญ่
               ย่อมต้องการบ้านที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่สงบ
                      3.5  การใช้ที่ดินกับการคมนาคมขนส่ง
                          Needham  (1977  อ้างอิงใน  สุทธิพันธุ์  พุฒิเลอพงศ์,  2552,  น.18)  ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้
                ่
                ี
                    ั
               ทดินกบระบบโครงข่ายคมนาคมขนส่งและการจราจรว่า  ระบบการคมนาคมขนส่งและการจราจรเป็นผลมาจากการใช้ทดิน
                                                                                                          ่
                                                                                                          ี
               โดยการคมนาคมขนส่งท�าให้ความต้องการเดินทางของผู้โดยสารในการเข้าถึงพ้นท่ต่างๆ ในเมืองได้อย่างสะดวกข้น และพ้นท ่ ี
                                                                          ื
                                                                                                          ื
                                                                            ี
                                                                                                   ึ
                                                                                     ี
                                                                              ื
               ท่การคมนาคมขนส่งเข้าถึงท�าให้การใช้ท่ดินในบริเวณน้นๆ เกิดการเปล่ยนแปลง เม่อการใช้ท่ดินเปล่ยนแปลงไปตามลักษณะ
                                                                    ี
                ี
                                                        ั
                                                                                          ี
                                             ี
                                                                           ั
               การคมนาคมขนส่งและการเดินทางของประชาชนจากต้นทางถึงปลายทาง รวมท้งชนิดของยานพาหนะท่ประชาชนใช้เดินทาง
                                                                                             ี
                                                                             ี
                                           ี
               ย่อมส่งผลต่อการเปล่ยนแปลงการใช้ท่ดินในเมือง ส่วนในทางกลับกันหากมีการเปล่ยนแปลงระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง
                               ี
                                                                   ั
               จะท�าให้การใช้ท่ดินในบริเวณน้นมีการเปล่ยนแปลงตามไปด้วย  ดังน้น  จึงสามารถคาดประมาณการเดินทางของประชาชน
                                               ี
                           ี
                                      ั
               จากการใช้ที่ดิน หรือคาดคะเนการใช้ที่ดินจากระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่งได้
                          Leibbrand (1970, p. 40-60 อ้างอิงใน สุทธิพันธุ์ พุฒิเลอพงศ์, 2552, หน้า 18) กล่าวถึงเมืองกับการขนส่ง
                                                                                                     ั
                                                                                                    ี
               ว่าเป็นของคู่กัน ดังน้น จะพบว่าทุกเมืองในโลกจะมีเส้นทางคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยส�าคัญท่มีอิทธิพลต่อการเลือกท่ต้งของเมือง
                              ั
                                                                                  ี
               และการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์  นอกจากนี้รูปแบบของการขนส่งยังเป็นตัวก�าหนดและจ�ากัดรูปแบบของเมืองด้วย  การพัฒนา
               ด้านการขนส่งด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ท�าให้การขนส่งมีความสะดวกและมีประสิทธิภาพมากข้น ท�าให้เมืองมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
                                                                                 ึ
               ส่งผลต่อรูปแบบการเจริญเติบโตของเมือง นอกจากน้ ระบบขนส่งยังท�าให้เกิดความสะดวกในการเคล่อนย้ายสินค้าของกิจการ
                                                      ี
                                                                                          ื
                                                                                                           ั
                                      ื
                               ั
               ด้านอุตสาหกรรม  ท้งการเคล่อนย้ายวัตถุดิบไปสู่โรงงาน  และเคล่อนย้ายสินค้าจากโรงงานไปสู่ตลาดและผู้บริโภค  ดังน้น
                                                                  ื
                                                                 ี
               การวางแผนการคมนาคมขนส่งและการวางแผนการใช้ประโยชน์ท่ดินควรด�าเนินการไปพร้อมกันไม่ว่าในระดับใด  โดยต้อง
               ค�านึงถึงการให้บริการที่สอดคล้องกับโครงข่ายการคมนาคมขนส่งของเมือง
                                                          ี
                                                                                   ี
                                                                                              ื
                          จากแนวความคิดดังกล่าว สรุปได้ว่าการใช้ท่ดินกับการคมนาคมขนส่งเป็นส่งท่มาคู่กันเสมอ เน่องจากมีการพัฒนา
                                                                                ิ
               ระบบคมนาคมขนส่งเข้าไปยังพื้นที่ พื้นที่ดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและบริเวณโดยรอบ เช่น เปลี่ยนเป็นพื้นที่
               พาณิชยกรรม พ้นท่พักอาศัย หรือพ้นท่อุตสาหกรรมของเมือง ซ่งในการออกแบบเส้นทางคมนาคมขนส่งในเมืองจะต้องค�านึง
                                                               ึ
                              ี
                                          ื
                                            ี
                           ื
               ถึงความสะดวกในการเข้าถึงพ้นท่ส่วนต่างๆ ของเมือง และยังต้องค�านึงถึงการบริการระบบขนส่งมวลชนท่จะเช่อมไปยังพ้นท ี ่
                                                                                                          ื
                                                                                                  ื
                                                                                              ี
                                        ี
                                      ื
               ต่างๆ ด้วย ดังนั้น การคมนาคมขนส่งจึงมีอิทธิพลต่อการพัฒนาการใช้ที่ดินในเมืองและการขยายตัวของเมืองรวมไปถึงราคา
               ที่ดิน เป็นต้น
               4. ระเบียบวิธีวิจัย
                      4.1  การเก็บรวบรวมข้อมูล
                          1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการส�ารวจด้วยแบบสอบถาม จ�านวน 257 ชุด โดยใช้
               กลุ่มตัวอย่างประชากรที่พักอาศัยและท�างานในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
               Vol.  8                                      34
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44