Page 38 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 38
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ในเขตชุมชนเมือง ผลที่ตามมา คือ ประชาชนและคนท�างานจะมีการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลลดลง เนื่องจากการบริการระบบ
ั
ึ
�
ิ
ี
ขนส่งมวลชนมีความสะดวกสบายมากย่งข้น ดังน้น การพัฒนาตามแนวความคิดน้จึงเป็นแนวความคิดท่สาคัญของเมืองประหยัด
ี
พลังงาน
3.2 แนวคิดเกี่ยวกับการใช้ที่ดินในเมือง
ี
ึ
Golany (1976) กล่าวถึงแนวทางและรูปแบบการใช้ท่ดินของเมืองในอนาคตว่า ข้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ หลายปัจจัย
้
้
ั
้
ทั้งสภาพการใชที่ดินในปจจุบัน แนวโนมการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ การขยายตัวของประชากรเมืองในอนาคต แผนพัฒนา
�
ึ
ี
ต่างๆ รวมถึงข้อจากัดทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และกายภาพ ซ่งปัจจัยเหล่าน้จะบอกถึงแนวโน้ม ทิศทาง และรูปแบบการใช้
ที่ดินในอนาคต
การกาหนดแนวทางและรูปแบบการใช้ท่ดินในเมือง มาจากนโยบายการใช้ท่ดินโดยรูปแบบการใช้ท่ดินท่เหมาะสม
ี
ี
ี
�
ี
ในอนาคตต้องค�านึงถึง 1) รูปแบบการใช้ที่ดินของเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 2) แนวโน้มการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการ
ขยายตัวของเมืองในอนาคต 3) ลักษณะการใช้ที่ดินส�าหรับเมืองในอนาคต ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวางแผนระดับ
ต่างๆ ข้อจ�ากัด และระดับมาตรฐานความเป็นอยู่
3.3 แนวคิดเกี่ยวกับการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย
Kaiser (1995 อ้างอิงใน สุทธิพันธุ์ พุฒิเลอพงศ์, 2552, หน้า 10) กล่าวเกี่ยวกับที่พักอาศัยว่า ในการใช้ที่ดิน
ี
ื
ี
ี
ื
ี
ทุกประเภท การใช้ที่ดินเพ่อการอยู่อาศัยเป็นการใช้ท่ดินท่มีพ้นท่มากท่สุดในเมือง โดยมีสัดส่วน 30-50 เปอร์เซ็นต์ ของพ้นท ี ่
ื
ที่พัฒนาแล้ว ยิ่งไปกว่านั้น ในพื้นที่พักอาศัยยังมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวัน เช่น
ี
สถานท่รับดูแลเด็ก สนามเด็กเล่น ร้านค้า โบสถ์ สโมสร ทางเดินเท้า ทางจักรยาน ถนน รวมถึงระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ
ุ
่
ุ
ั
้
ั
็
ี
ื
่
ื
่
้
ึ
่
ี
พนทพกอาศยจงเปนชมชนขนาดเลกในชมชนเมองใหญ ซงนกวางแผนไมเพยงแตหาทตงทเหมาะสมเทานน แตควรจะออกแบบ
้
ั
ี
่
่
ึ
่
็
ั
่
ี
่
ั
้
้
ั
ั
ั
่
้
ี
่
ี
ิ
้
้
่
ี
ใหมสภาพแวดลอมทด และมความหลากหลายใหเหมาะสมกบประชากรระดบตางๆ รวมทง ความสามารถในการจายเงนดวย
ี
นอกจากนี้ที่พักอาศัยควรจะมีความสัมพันธ์กับแหล่งงาน ย่านการค้า และพื้นที่โล่งว่างด้วย
3.4 แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการเลือกที่พักอาศัย
Goodall (1972, p.150 อ้างอิงใน สุทธิพันธุ์ พุฒิเลอพงศ์, 2552, หน้า. 12) ได้กล่าวถึงหลักเกณฑ์ในการเลือก
ที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคว่า จะพิจารณาคุณสมบัติของที่มีอยู่ 3 ประการ คือ
1. ลกษณะของบาน จะพจารณาถงสภาพความเกาของบาน ความเหมาะสมของขนาดบานกับขนาดของครวเรอน
ื
ิ
่
ึ
ั
้
้
ั
้
และค�านึงถึงคุณสมบัติของส่วนประกอบภายในบ้าน
ู
่
่
ี
ี
ั
ี
ั
ุ
ู
ั
ั
2. ลกษณะของชมชน ผอยอาศยมกจะเลอกบรเวณทอยอาศย ทมสภาพเศรษฐกจและสงคมทเหมอนกบตวเอง
ั
่
ื
ื
ั
ิ
ี
่
่
้
ู
ิ
ั
ี
ื
ี
ั
ี
3. ความสัมพันธ์ของท่ต้งของท่อยู่อาศัยกับพ้นท่โดยรอบ ได้แก่ ความสะดวกในการเดินทางไปยังแหล่งงาน
ย่านการค้า อุตสาหกรรม และการติดต่อสัมพันธ์กับกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
Muth (1969 อ้างอิงใน นภาพร มโนรุ่งเรืองรัตน์, 2541, หน้า 31) กล่าวถึงความแตกต่างในการเลือกที่ตั้ง
ของที่อยู่อาศัยของผู้ที่มีรายได้สูงและผู้มีรายได้ต�่าว่า ประชากรที่มีรายได้สูงจะมีแหล่งที่พักในเขตชานเมือง และมีความพอใจ
ี
ี
่
ท่จะอยู่ในบริเวณท่มีความหนาแน่นตา เน่องจากต้องการบ้านในบริเวณท่ไม่แออัด ขณะท่ประชากรท่มีรายได้ตาจะอยู่ใกล้
ี
�
่
ื
ี
ี
�
ศูนย์กลางเมือง เพื่อให้เกิดความสะดวกในการเดินทางไปท�างานและกิจการอื่นๆ
Murphy (1975, p.435 อ้างอิงใน สุทธิพันธุ์ พุฒิเลอพงศ์, 2552, หน้า 13) ได้กล่าวถึงการเลือกบริเวณท่อยู่อาศัย
ี
ั
ี
ในเมืองว่ามีความสัมพันธ์กับราคาท่ดิน กล่าวคือ บริเวณใจกลางเมืองราคาท่ดินจะสูงกว่าบริเวณอ่น ดังน้น การสร้างท่อยู่อาศัย
ี
ี
ื
ี
ี
ี
�
�
ในเมืองจาเป็นจะต้องลงทุนสูง และราคาท่ดินจะค่อยๆ ลดลงตามระยะทางท่ห่างออกไปจากตัวเมือง ทาให้การลงทุนด้านท่อย ู่
อาศัยลดลง นอกจากนั้นราคาที่ดินจะผันแปรกับค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ดังนั้น ผู้ที่มีรายได้สูงย่อมมีโอกาสเลือกที่อยู่อาศัย
นอกเมือง ในขณะที่ผู้มีรายได้ต�่าจะต้องเลือกอาศัยอย่างแออัดในเมือง
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
33 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.