Page 37 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 37

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017






               2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย


                      2.1  เพื่อศึกษาแผนแม่บทและแผนการพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย
                      2.2  เพื่อศึกษาลักษณะบุคคล ลักษณะการอยู่อาศัย และความต้องการเปลี่ยนแปลงด้านที่อยู่อาศัย
                      2.3  เพื่อศึกษาข้อมูลและความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการรถไฟความเร็วสูง
                      2.4  เพื่อศึกษาอุปสงค์และปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการที่อยู่อาศัยเนื่องจากการพัฒนารถไฟความเร็วสูง
                                                    ี
                                                                                  ึ
                            ื
                      2.5  เพ่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาท่อยู่อาศัยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง  ซ่งจะท�าให้ทราบถึงทิศทาง  รูปแบบ
                                                              ื
                                                     ี
               การพัฒนา ร่วมถึงความต้องการในการพัฒนาด้านท่อยู่อาศัย เพ่อน�าไปสู่การเตรียมความพร้อมและวางแผน และก�าหนดกรอบ
               ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูงในอนาคตต่อไป
               3. แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                      3.1  แนวคิดการพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร (Transit-Oriented Development (TOD))

                                                          ี
                                                                        ี
                                                                                       ี
                          Calthorpe (1993) กล่าวว่า TOD เป็นย่านท่มีการใช้ประโยชน์ท่ดินแบบผสมผสาน ท่มีขนาดประมาณ 80 เฮกตาร์
                              ึ
                                                                                     ื
                                                                                        ี
               (ประมาณ 12 ไร่) ซ่งเป็นการพัฒนาโดยรอบสถานีขนส่งมวลชนและพ้นท่พาณิชยกรรมหลัก พ้นท่ TOD จะอยู่ในรัศมีการเดิน
                                                                     ี
                                                                   ื
               ประมาณ 10 นาที หรือมีระยะทางประมาณ 600 เมตรจากสถานีขนส่งมวลชน พื้นที่ถัดออกมาเรียกว่า Secondary Area
               ประกอบไปด้วยท่พักอาศัยหนาแน่นต่า โรงเรียน สวนสาธารณะ พ้นท่พาณิชยกรรม ส�านักงาน ภายในรัศมี 1 ไมล์ (ประมาณ
                                           �
                                                                   ี
                            ี
                                                                 ื
               1.6 กิโลเมตร) พื้นที่ TOD จะผสมผสานระหว่างที่พักอาศัย ร้านค้า ส�านักงาน พื้นที่โล่ง สถานที่สาธารณะ













                                        รูปที่ 1 แนวความคิด Transit-Oriented Development
                                                 ที่มา: Calthorpe (1993, P.56)


                      ธราวุฒิ บุญช่วย (2551, หน้า 133) กล่าวถึง แนวความคิดการพัฒนาจุดเปล่ยนถ่ายการสัญจรน้ว่า เป็นของ Peter
                                                                                ี
                                                                                              ี
                                                                                             ิ
               Calthorpe สถาปนิกและนักผังเมืองชาวอเมริกันมีช่อเรียกว่า Transit Oriented Development (TOD) เร่มต้นในปี ค.ศ. 1993
                                                     ื
                         ี
               เป็นแนวคิดท่ให้ความส�าคัญของการเดินเท้า  การใช้รถจักรยาน  และการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเป็นหลักในการเดินทาง
                                              ี
               เป็นแนวทางของการพัฒนาชุมชนเมือง ท่สนับสนุนการพัฒนาพ้นท่บริเวณจุดเปล่ยนถ่าย การสัญจรของระบบขนส่งสาธารณะ
                                                                           ี
                                                              ื
                                                                 ี
               ให้มีการใช้ประโยชน์อย่างผสมผสานและสามารถเช่อมโยงส่วนต่างๆ เข้าด้วยกันโดยใช้การเดินเท้า แนวความคิดน้มีวัตถุประสงค์
                                                    ื
                                                                                                  ี
               เพื่อเป็นการรวบรวมการเดินทางภายในชุมชนเมืองจนถึงระดับเมือง การพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร (Transit-Oriented
               Development)  ว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาบริเวณที่พักอาศัยที่ใกล้กับสถานีขนส่งมวลชนสาธารณะหรือบริเวณรอบๆ
                                                                                              ี
                                           ึ
               สถานีระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ ซ่งภายในบริเวณอาจมีเจ้าของกรรมสิทธ์ท่แตกต่างกัน แนวความคิดน้พยายามสนับสนุน
                                                                        ิ
                                                                          ี
               ให้ประชาชนได้อาศัยอยู่ในบริเวณจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร ซึ่งแนวทางพัฒนาบริเวณนี้ จะส่งผลกระทบโดยตรงในการสัญจร
               Vol.  8                                      32
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42