Page 54 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 54
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
ึ
แต่เม่อการบูรณะผ่านไปได้ระยะหน่งพื้นบริเวณระเบียงทางเดิน รอบพระบรมธาตุมหาเจดีย์ เกิดการเส่อมสภาพ
ื
ื
ื
ื
ื
ของกระเบ้องปูพ้นบริเวณระเบียงทางเดินหลังคาวิหารคด โดยพ้นกระเบ้องมีลักษณะนูนปูดข้นเป็นแนวยาวลักษณะเป็น
ึ
ี
กระดองเต่าและบางส่วนแตกล่อนเป็นแนววงแหวนรอบองพระบรมธาตุมหาเจดีย์จึงเป็นท่มาของการศึกษาหาข้อมูลเพ่อให้ทราบ
ื
ั
ื
ื
ื
ี
สาเหตุของการเส่อมสภาพของกระเบ้องพ้นรอบพระบรมธาตุมหาเจดีย์ บริเวณหลังคาระเบียงคดช้นท่ 2 วัดประยุรวงศาวาส-
วรวิหาร ว่าสาเหตุแห่งการเสื่อมสภาพมาจากปัจจัยใดบ้าง
รูปที่ 2 ลักษณะของการหลุดล่อนของกระเบื้องพื้นหลังคาระเบียงคดชั้นที่ 2 วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
2. สาเหตุของการเสื่อมสภาพของกระเบื้องอาคาร
2.1 สาเหตุภายใน (lntrinsic Factors)
การเส่อมสภาพของกระเบ้องเน่องจากส่วนประกอบเอง ได้แก่ คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้าง ชนิดของวัสดุก่อสร้าง
ื
ื
ื
ี
้
ั
วัสดุท่เป็นฐานของส่งก่อสร้าง สถานท่ต้ง ลักษณะโครงสร้าง และนาหนักของโบราณสถาน หรือความผิดพลาดในการก่อสร้าง
ี
ิ
�
ื
�
ศันสนีย์ ชวนะกุล (2528) กล่าวว่า คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้างเป็นสาเหตุสาคัญในการเส่อมสภาพของโบราณสถาน เช่น
ี
ั
ื
วิหาร และอุโบสถมักเหลือเพียงส่วนท่เป็นพ้นและเสาเท่าน้น โครงสร้างไม้ และหลังคาจะไม่มีปรากฏ นอกจากการใช้วัสด ุ
ก่อสร้างคุณภาพและชนิดต่างกัน เช่น ไม้ อิฐ ศิลาแลง ปูนปั้น ภายในโครงสร้างเดียวกันก็เป็นสาเหตุของการเสื่อมสภาพ
ภายในด้วย
2.1.1 การหลุดเป็นแผ่นเกิดจากการปูกระเบ้องท่ไม่ดี มีช่องว่างโพรงอากาศใต้กระเบ้อง ทาให้มีความช้นสะสม
�
ื
ื
ี
ื
�
ใต้กระเบ้อง จากการปูแบบซาลาเปา ปูนไม่เต็มหน้า ตามขอบโปร่ง ปูบนผิวปูนเก่า ไม่กระเทาะผิวเดิม ผิวปูนอาจเปื้อนน้ายา
ื
ทาแบบหรือน�้ามัน ปูบนพื้นผิวที่มันเกินไป มีแรงกดบนผิวกระเบื้องที่ปู ขณะที่ยังไม่แข็งแรงพอมีแรงสั่นสะเทือนขณะที่ปูน
ี
�
ี
เซ็ตตัว เช่น ทางานขณะท่มีการตอกเข็ม ปูนกาวไม่ได้คุณภาพ อากาศแห้งมาก ร้อนมาก ปูนแห้งก่อนปูนท่เป็นฐานรับ
แข็งแรงไม่พอ หรือผสมปูนน้อยไป ฝีมือคนปูไม่ได้มาตรฐาน
2.1.2 กระเบ้องแตกเป็นแนวยาว เกิดจากการทรุดตัวของพ้นอาคาร หรือการเอียงตัวของโครงสร้าง โดยในกรณีน ้ ี
ื
ื
กระเบื้องอาจไม่หลุดออกมา แต่แตกต่อเนื่องเป็นแนวยาว
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
49 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.