Page 50 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 50
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
6.2 ลักษณะประชากร รูปแบบการอยู่อาศัย และความต้องการในการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัย
ี
ี
จากการศึกษาลักษณะประชากร รูปแบบการอยู่อาศัย และความต้องการในการเปล่ยนแปลงท่อยู่อาศัย จะเห็นว่า
ี
ในปัจจุบันกลุ่มประชากรท่ทาการศึกษาในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ส่วนใหญ่มีความต้องการในการ
�
ี
ื
เปล่ยนแปลงท่อยู่อาศัย ในลักษณะของการปรับปรุงต่อเติมอาคารอยู่อาศัยท่มีอยู่เดิม เน่องจากมีสภาพทรุดโทรม และคับแคบ
ี
ี
แต่มีบางส่วนที่ต้องการที่อยู่อาศัยใหม่เนื่องจากมีความต้องการแยกครอบครัวครัว โดยพื้นที่ที่กลุ่มประชากร ส่วนใหญ่เลือก
ที่จะสร้างที่อยู่อาศัยใหม่ ยังคงเป็นพื้นที่ที่อยู่ไม่ห่างจากสถานศึกษา สถานพยาบาล สนามบิน และศูนย์ราชการ เนื่องจาก
สะดวกในการเข้าถึงบริการต่างๆ ที่จ�าเป็นในชีวิตประจ�าวัน
6.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการรถไฟความเร็วสูง
ี
จากการศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับรถไฟความเร็วสูง จะเห็นว่า กลุ่มประชากรในพ้นท่ศึกษาในเขต ผังเมืองรวม
ี
ื
เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ส่วนใหญ่ทราบว่าจะมีแนวเส้นทางโครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะ
ที่ 2 (ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย) ผ่านในพื้นที่ ซึ่งหากโครงการนี้แล้วเสร็จ กลุ่มประชากรส่วนใหญ่คาดว่าจะเลือกใช้บริการ
ระบบขนส่งน้ เน่องจากเห็นว่าจะช่วยให้การเดินทางมีความรวดเร็วมากข้น สามารถควบคุมเวลาในการเดินทางได้ และม ี
ื
ี
ึ
ั
ื
ความปลอดภัยสูงโดยคาดว่าจะเลือกใช้บริการดังกล่าวน้อยกว่า 1 คร้งต่อเดือน เน่องจากวัตถุประสงค์ในการเดินทางส่วนใหญ่
่
็
่
้
่
ยังเปนการเดินทางเพื่อการทองเที่ยว และเยี่ยมเยือนเพื่อนหรือญาติพี่นองตามโอกาสตางๆ นอกจากนี้ พื้นที่ที่กลุมประชากร
ส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมในการพัฒนาเป็นสถานีและเป็นท่อยู่อาศัยสาหรับรองรับการพัฒนารถไฟความเร็วสูง จะเป็น
�
ี
ั
ี
ื
พ้นท่บริเวณทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง เน่องจากเป็นท่ต้งของสถานศึกษา
ี
ื
สถานพยาบาล สนามบิน ศูนย์ราชการ และแหล่งงาน โดยมีรัศมีในการพัฒนาที่อยู่อาศัยในระยะ 0.5-1.0 กิโลเมตร ซึ่งเป็น
ระยะที่สามารถเข้าถึงการให้บริการด้วยการเดินเท้า รถจักรยาน และระบบขนส่งมวลชนได้อย่างสะดวก
6.4 อุปสงค์และปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการที่อยู่อาศัยเนื่องจากการพัฒนารถไฟความเร็วสูง
จากการศึกษาอุปสงค์และปัจจัยท่มีผลต่อความต้องการท่อยู่อาศัยเน่องจากการพัฒนารถไฟความเร็วสูงจะเห็นว่า
ี
ี
ื
โครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะที่ 2 (ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย) มีผลต่อการตัดสินใจ ในการ
เลือกที่อยู่อาศัยของกลุ่มประชากรส่วนใหญ่ที่ท�าการศึกษาในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และที่อยู่อาศัย
ี
ท่กลุ่มประชาการส่วนใหญ่ต้องการ ยังคงท่อยู่อาศัยประเภทบ้านเด่ยว 2 ช้น มีพ้นท่ใช้สอยและขนาดท่ดิน 51-100 ตารางวา
ี
ื
ั
ี
ี
ี
และมีราคาประมาณ 1-2 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เลือกที่จะสร้างที่อยู่อาศัยด้วยตัวเอง
6.5 การสรุปผลและข้อเสนอแนะ
ี
จากการศึกษาการพัฒนาท่อยู่อาศัยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น พบว่า กลุ่มประชากร
ี
ท่ทาการศึกษาในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น มีความต้องการท่อยู่อาศัยที่ไม่ห่างจากแหล่งงาน สถานศึกษา
ี
�
ึ
และศูนย์กลางการให้บริการอ่นๆ และยังมีความต้องการท่อยู่อาศัยประเภทบ้านเด่ยว ซ่งอาจไม่สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์
ี
ื
ี
ั
ี
ท่ดินบริเวณศูนย์กลางเมืองท่มีความหนาแน่นสูง ดังน้น การพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่ง จึงมีผลต่อการตัดสินใจในการเลือก
ี
ื
ท่อยู่อาศัยของกลุ่มประชากร เน่องจากหากมีการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งท่ดีมีความรวดเร็ว ปลอดภัย และมีระยะเวลา
ี
ี
�
ู
้
่
็
่
ิ
ี
ึ
ั
ในการเดนทางทแนนอนในการเดนจากทพกถงแหลงงานหรอบรการต่างๆ ไดอยางสะดวกสบาย กจะสามารถกาหนดรปแบบ
ิ
่
่
ี
ื
่
ิ
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการรองรับการอยู่อาศัยให้มีความเหมาะสม รวมถึงสามารถก�าหนดรูปแบบการพัฒนาที่อยู่อาศัยได้
ั
ั
ตรงความต้องการท้งลักษณะ พ้นท่ใช้สอย และราคา ตอบสนองความต้องการด้านท่อยู่อาศัยของกลุ่มประชากร อีกท้งยัง
ื
ี
ี
สามารถลดการกระจุกตัวของกิจกรรมบริเวณศูนย์กลางเมืองท่มีความหนาแน่นสูงได้อีกด้วย และนอกจากจะมีการพัฒนาระบบ
ี
ื
ขนส่งหลักแล้ว ก็ควรมีการพัฒนาระบบขนส่งอ่นให้มีความสอดคล้อง และเช่อมโยงกับระบบขนส่งหลักให้มีความสอดคล้อง
ื
ี
สมบูรณ์ด้วย จึงจะนาไปสู่การวางแผนรองรับการขยายตัวด้านท่อยู่อาศัยท่ตรงตามความต้องการและส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ด ี
�
ี
ี
ของประชากรด้วย
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
45 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.