Page 55 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 55
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
2.1.1 การหลุดล่อนเป็นแผ่นจากการปูที่ไม่ได้คุณภาพ 2.1.2 การแตกร้าวเป็นแนวยาวจากโครงสร้าง
รูปที่ 3 สาเหตุการเสื่อมสภาพจากภายใน (lntrinsic Factors)
ที่มา: https://www.weberthai.com/weber/knowledge/tileadhesive-tip/why-tilesexplodes.html
(เข้าถึงเมื่อ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2559)
2.2 สาเหตุภายนอก (Extrinsic Factors)
เป็นกระบวนการเสื่อมสภาพของโบราณสถานที่เกิดขึ้นจากการกระท�าของสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งแบ่งได้เป็น
สภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ลักษณะภูมิอากาศ
อุณหภูมิ ความชื้น แสงแดด ลม น�้าใต้ดิน ก๊าซ สารเคมีที่ปนอยู่ในบรรยากาศ ฝุ่นละออง ควัน เกลือ เป็นต้น และปัจจัย
ื
ี
ทางชีวภาพ เช่น สาหร่าย ไลเคน หรือพืชชนิดอ่นๆ ท่เจริญเติบโตบนโบราณสถาน และสัตว์ท่อาศัยอยู่ในบริเวณโบราณสถาน
ี
เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่มีผลต่อการเสื่อมสภาพของโบราณสถานในระยะยาว (ศันสนีย์ ชวนะกุล,
2528)
2.2.1 การดัน โก่งตัวของวัสดุ การยืด-หดตัวของวัสดุ เพราะอากาศที่แตกต่างและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เป็นหนึ่งในสาเหตุการแตกร้าวของกระเบื้อง เมื่ออุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วจะท�าให้วัสดุหดตัว ทั้งพื้นกระเบื้องและคอนกรีต
ื
ี
ั
ื
ื
ื
แต่เน่องจากกระเบ้องกับคอนกรีต มีการหดตัวท่ไม่สัมพันธ์กัน เกิดการดึงร้งระหว่างพ้นคอนกรีตและกระเบ้อง จึงท�าให้กระเบ้อง
ื
แตกร้าวเป็นแนวยาว
2.2.1 การยืด-หดของวัสดุเนื่องจากอิทธิพลของอุณหภูมิ
รูปที่ 4 สาเหตุการเสื่อมสภาพจากภายนอก (Extrinsic Factors))
ที่มา: https://www.weberthai.com/weber/knowledge/tileadhesive-tip/why-tilesexplodes.html
(เข้าถึงเมื่อ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2559)
ุ
�
ู
ื
ั
ิ
่
ิ
ิ
ู
ึ
ั
่
ุ
่
ี
การเสอมสภาพของกระเบองเนืองจากอณหภม อณหภมเป็นปัจจยหนงททาให้เกดการเสอมสภาพของวตถ ุ
่
ื
ื
่
้
่
ึ
้
้
ึ
�
้
ซงขนอยกบปจจยตางๆ เชน ความรอน ระบบการระบายอากาศ และโครงสรางของอาคาร ความรอนอาจทาใหวตถแหงกรอบ
ุ
้
ั
่
่
ั
้
ั
่
ู
ั
้
ึ
ึ
และช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ เกิดข้นได้อย่างรวดเร็ว (จิรภรณ์ อรัณยะนาค, 2529) ท้งน้อุณหภูมิของโลกได้เพ่มข้นประมาณ
ี
ิ
ั
Vol. 8 50