Page 56 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 56
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ั
ึ
ี
ิ
0.6 องศาเซลเซียส ในช่วง 100 ปี นอกจากน้ อุณหภูมิเฉล่ยท่วโลกท่คาดว่าจะเพ่มข้นอีก 1.4-5.8 องศาเซลเซียส ในปี 2100
ี
ี
ิ
ึ
ิ
ื
ื
ี
(Ngencharoen, 2008) มีผลต่อการเส่อมสภาพของวัตถุ เน่องจากอุณหภูมิท่เพ่มข้นจะเพ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาทางเคม ี
ชีวเคมี และฟิสิกส์ ซ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ จิราภรณ์ อรัณยนาค (2529) ท่พบว่าอุณหภูมิมีผลโดยตรงต่อการเปล่ยนแปลง
ี
ี
ึ
ทางเคมีและทางฟิสิกส์ของวัสดุก่อสร้างในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในทางฟิสิกส์ที่เห็นได้ชัดเจน คือ
ี
ี
ั
การขยายตัวและหดตัวของวัสดุก่อสร้างเน่องมาจากอิทธิพลของอุณหภูมิ ท้งน้วัสดุก่อสร้างท่อยู่ท่ผิวของอาคารมีการขยายตัว
ื
ี
และหดตัวเนื่องจากอุณหภูมิมากกว่าวัสดุที่อยู่ด้านใน ท�าให้เกิดรอยแตกร้าว บิดงอ และการกะเทาะหลุดร่อนออกเป็นแผ่นๆ
ิ
ี
ึ
ั
อีกท้งโบราณสถานส่วนใหญ่สร้างข้นจากวัสดุก่อสร้างหลายชนิดท่มีค่าสัมประสิทธ์ในการขยายตัว (Thermal Expansion
ี
Coefficience) แตกต่างกัน เช่น โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ท่ก่อสร้างจากอิฐท่มีค่าสัมประสิทธ์การขยายตัว
ี
ิ
–6
–6
–6
เท่ากับ 5.3 x 10 และปูนฉาบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ในการขยายตัวในช่วง 8 x 10 ถึง 11 x 10 ท�าให้การขยายตัวของ
วัสดุทั้งสองไม่เท่ากันและเกิดการกะเทาะ หลุดร่อนของปูนฉาบตามมา ดังนั้นมักพบอยู่เสมอว่า โบราณสถานที่สร้างขึ้นจาก
ี
อิฐก่อ และปูนฉาบมักมีการหลุดร่อนของปูนฉาบเกิดข้นเสมอๆ นอกจากน้ ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิภายในและภายนอก
ึ
ี
�
ั
อาคารเองก็อาจทาให้เกิดปัญหาแก่วัสดุก่อสร้างได้ ส่วนผลของอุณหภูมิต่อการเปล่ยนแปลงทางเคมีน้น จิราภรณ์ อรัณยะนาค
(2529) พบว่าอุณหภูมิที่สูงมีส่วนช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้ดีขึ้น โดยเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 องศาเซลเซียส ปฏิกิริยาเคมี
จะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
ั
ื
ี
ิ
้
ี
ิ
ั
่
่
ึ
ี
จากการศกษางานวจยทเกยวข้องพบว่า พฤตกรรมการเสยสภาพของกระเบอง แบ่งได้เป็น 3 ลกษณะตาม
การเกิด ได้แก่ 1) จากโครงสร้าง 2) จากการปูที่ไม่ได้มาตรฐาน และ 3) จากการยืดหดตัวของวัสดุเนื่องจากอุณหภูมิ
3. การลงพื้นที่เก็บข้อมูล
3.1 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ของอาคารกรณีศึกษา
รูปแบบสถาปัตยกรรม พระบรมธาตุมหาเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงกลม สัณฐานรูประฆังคว�่า มีความสูง 60.525 เมตร
ฐานล่างส่วนนอกวัดโดยรอบได้ 162 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เมตร มีช่องคูหาล้อมรอบด้านล่างพระเจดีย์ 54 คูหา ถัด
ไปด้านบนหลังคาระเบียงคดชั้นที่ 2 มีพระเจดีย์เล็ก 18 องค์ รอบพระเจดีย์องค์ใหญ่ เริ่มก่อสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2371 โดย
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) สร้างเป็นวัด แล้วถวายเป็นพระอาคารหลวงในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โดยได้รับพระราชทานนามว่า “วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร” ใช้เวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้น 8 ปี
จึงแล้วเสร็จ ทั้งนี้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ได้อัญเชิญพระพุทธนาคมาจากสุโขทัย น�ามาประดิษฐานในพระวิหาร
เมื่อปี พ.ศ. 2374 ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award
of Excellence) โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
3.2 การลงพื้นที่เก็บข้อมูล
รูปแบบการเก็บข้อมูล การศึกษาคร้งน้เป็นการใช้การประเมินความเสียหายท่เกิดข้นกับกระเบ้องภายนอกของอาคาร
ี
ึ
ื
ี
ั
บริเวณชั้นที่ 2 เหนือระเบียงคด ท�าโดยการเก็บข้อมูลความเสียหายของพื้นภายนอกอาคาร ด้วยการสังเกตและการบันทึก
ื
ภาพถ่าย บันทึกรูปแบบของความเสียหายด้วยวิธีเคาะเพ่อฟังเสียง การตรวจวัดระดับความเสียหายทาโดยอาศัยเคร่องวัด
�
ื
ระดับชนิดเลเซอร์ ไม้ระดับ (Staff of Rod) และเนื่องด้วยข้อจ�ากัดของเครื่องมือในการตรวจวัดปริมาณความเสียหาย จึง
ต้องท�าการก�าหนดจุดวัดเครื่องมือวัดกับพื้นที่ ผู้วิจัยจึงระบุต�าแหน่งการตรวจวัดตามทิศรัศมีขององค์เจดีย์ ซึ่งเป็นบริเวณที่
สังเกตเห็นความเสียหายได้ชัดเจน พื้นที่ในการวัดได้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ช่วง ได้แก่ ด้านทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้และ
�
ึ
ั
ี
�
ทิศตะวันตก จากน้นนามาวิเคราะห์และประเมินผลความเสียหายท่เกิดข้น ซ่งผู้วิจัยระบุตาแหน่งการตรวจวัดจากความเสีย
ึ
หายของกระเบื้องพื้น ซึ่งเป็นบริเวณที่สังเกตเห็นการเสียหายได้ชัดเจน พื้นที่ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล แบ่งออกเป็น 18 จุดรอบ
บริเวณระเบียงทางเดินหลังคาวิหาร องค์พระบรมธาตุมหาเจดีย์
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
51 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.