Page 59 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 59
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
รูปที่ 7 แสดงรูปตัดระเบียงคดบริเวณต�าแหน่งพื้นที่มีการประเมินความเสียหายหลุดล่อนของกระเบื้อง
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
4. การวิเคราะห์และประเมินผลจากข้อมูล
ื
ื
ี
ี
ึ
ื
4.1 การลงพ้นท่เก็บข้อมูลการประเมินความเสียหายท่เกิดข้นกับพ้นกระเบ้องภายนอกระเบียงวิหารคด
ข้อมูลจากการส�ารวจได้ถูกน�ามาวิเคราะห์ใน 2 รูปแบบ ดังนี้
การประเมินผลจากการสังเกตด้วยสายตา วิธีน้จะน�าไปใช้ประเมินความเสียหายของผิวกระเบ้องปูพ้นภายนอก
ี
ื
ื
อาคาร โดยการเก็บข้อมูล เริ่มนับจากทางขึ้นด้านทิศใต้เป็นจุดที่ 1 และเดินส�ารวจ จดบันทึกเป็นแบบวนตามเข็มนาฬิกา
โดยแบ่งความเสียหายออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 กระเบื้องไม่พบความเสียหายที่ชัดเจน ระดับที่ 2 กระเบื้องเกิด
การพองตัวนูนขึ้น ระดับที่ 3 กระเบื้องเกิดการพองนูนและปริแตกหลุดออกจากพื้น
ี
ื
ื
ประเมินผลโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบความแตกต่างของเสียงท่ท�าการเคาะลงบนพ้นกระเบ้อง เป็นวิธีการฟังเสียง
ี
ี
ึ
ึ
ิ
ท่เกิดข้นจากการกระทบหรือกระแทก (Impact or Impulse Noise) เป็นเสียงท่เกิดข้นและส้นสุดอย่างรวดเร็ว ในเวลาน้อยกว่า
1 วินาที โดยแบ่งลักษณะของเสียงที่เกิดขึ้นออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบที่ 1 เสียงแน่นทึบ รูปแบบที่ 2 เสียงก้อง
ิ
กังวาน การเคาะจะใช้เหรียญโลหะ โดยเร่มจากเคาะด้านทิศใต้โดย ตีตารางขนาด 30 เซนติเมตร จากด้านซ้ายไปขวา ไล่ไป
ื
ื
ี
ี
เร่อยๆ จนครบ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า รูปแบบความเสียหายส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบท่ 2 คือ กระเบ้องท่เคาะมีเสียงก้อง
โดยเฉพาะ ณ ต�าแหน่งพื้นด้านทิศใต้ และทิศตะวันตก
5. ผลการศึกษา
ึ
ื
การประเมินความเสียหายท่เกิดข้นกับกระเบ้องภายนอกของอาคาร ท�าโดยการเก็บข้อมูลความเสียหายของพ้น
ี
ื
ภายนอกอาคาร ด้วยการสังเกตและการบันทึกภาพถ่าย บันทึกรูปแบบของความเสียหาย การตรวจวัดระดับความเสียหาย
Vol. 8 54