Page 49 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 49

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







               ตารางที่ 11 สรุปลักษณะและความต้องการด้านที่อยู่อาศัยส�าหรับการรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง (ต่อ)

                         ตัวแปร                   คุณลักษณะ                ความถี่             ร้อยละ
                ขนาดพื้นที่ใช้สอย          น้อยว่า 50 ตารางวา                53                 20.6

                                           51-100 ตารางวา                   136                 52.9
                                           101-150 ตารางวา                   55                 21.4

                                           มากกว่า 150 ตารางวา               13                  5.1
                ราคา                       ต�่ากว่า 1 ล้านบาท                71                 27.6

                                           1-2 ล้านบาท                      101                 39.3
                                           2-3 ล้านบาท                       60                 23.3

                                           3-4 ล้านบาท                       11                  4.3
                                           4-5 ล้านบาท                       7                   2.7

                                           มากกว่า 5 ล้านบาท ขึ้นไป          7                   2.7
                ความเชื่อมั่นต่อหน่วยงาน/  สร้างด้วยตนเอง                   119                 46.3

                องค์กร/ผู้ดูแลหรือ         โครงการของเอกชน                   52                 20.2
                พัฒนาโครงการ               โครงการที่เอกชนร่วมกับรัฐ         48                 18.7

                                           โครงการของรัฐบาล                  36                 14.0

                                           อื่นๆ                             2                   0.8
                อิทธิผลของรถไฟความเร็วสูง  มี                               156                 60.7
                มีผลต่อการตัดสินใจที่อยู่อาศัย  ไม่มี                       101                 39.3


               ที่มา: ผู้วิจัย (2560)


               6. การอภิปรายผล สรุป และข้อเสนอแนะ

                      6.1  แผนการพัฒนาด้านที่อยู่อาศัย

                                 ึ
                                                                   ู
                                                        ั
                                                                                      ั
                                                                                                   ื
                                                                 ่
                                                                      ั
                                                                 ี
                          จากการศกษาแผนแม่บทและแผนการพฒนาด้านทอย่อาศยพบว่า  การขยายตวของชุมชนในเมองขอนแก่น
               มีอัตราการขยายตัวสูง  โดยเฉพาะการเพิ่มของประชากรแฝง  เนื่องจากเป็นศูนย์กลางระดับภูมิภาค  ท�าให้ย่านต่างๆ  มีการ
                                            ึ
               กระจุกตัวหนาแน่นบริเวณศูนย์กลาง ซ่งจากแผนดังกล่าวมีการคาดการณ์การเติบโตของเมืองขอนแก่นโดยแบ่งได้ เป็น 2 ระยะ
               คือ ระยะที่ 1 (ช่วงปี พ.ศ. 2555-2565) มีแนวโน้มในการพัฒนาเมืองด้านที่อยู่อาศัยไปใน 3 ทิศทาง คือ ทางด้านตะวันตก
                                                                      ื
                                                                      ้
                                                                                    �
                                                                                    ้
                                                                                                           ั
                                                                                              ี
                                                                        ่
                                                                        ี
                                                                              ี
                                                                         ู
                                                            ื
                 ี
                                            ั
                                 ี
                      ื
               เฉยงเหนอ  ตะวนตกเฉยงใต้  และตะวนออกเฉียงเหนอ  เนองจากเป็นพนทสงไม่มปัญหานาท่วม  และมความสอดคล้องกบ
                                                        ื
                                                            ่
                           ั
               ทิศทางการขยายตัวของเศรษฐกิจ  และระยะที่  2  (ช่วงปี  พ.ศ.  2565-2575)  มีแนวโน้มการขยายตัวออกไปสู่เมืองรอบนอก
               โดยจะมีการวางแผนในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะท่มีประสิทธิภาพรองรับการเดินทาง  จากท่อยู่อาศัยไปสู่แหล่งงาน
                                                                                           ี
                                                           ี
                                                       ี
               ซ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่าในแผนด้านการพัฒนาท่อยู่อาศัย ได้มีการคาดการณ์ทิศทาง การขยายตัวของเมืองในระยะต่างๆ
                ึ
               โดยมีการวางแผนด้านพัฒนาการคมนาคมและขนส่งเพื่อรองรับรูปแบบขยายตัวของเมืองในอนาคต
               Vol.  8                                      44
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54