Page 60 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 60

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                  �
                                                      �
                                                                                            ึ
                                                                                        ี
                             ื
                ทาโดยอาศัยเคร่องวัดระดับชนิดเลเซอร์  จากน้นนามาวิเคราะห์และประเมินผลความเสียหายท่เกิดข้นเป็น  3  ระดับ  ได้แก่
                                                    ั
                ระดับที่ 1 กระเบื้องไม่พบความเสียหายที่ชัดเจน ระดับที่ 2 กระเบื้องเกิดการโก่งตัว ระดับที่ 3 กระเบื้องเกิดการโก่งตัวและ
                                                                                          ื
                                              �
                                                                                     ื
                หลุดล่อน  จากการศึกษาดังกล่าวจะนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุของการหลุดล่อนของกระเบ้องปูพ้นทางเดินภายนอกอาคาร
                ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับความเสียหายส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่ 2 คือ กระเบื้องปูพื้นเกิดการโก่งตัวขึ้น ลักษณะเป็น
                                                     ื
                การยกตัวเป็นแพหลุดออกจากพ้นซีเมนต์ และเม่อพิจารณาในลักษณะภาพรวมของแนวโน้มความเสียหาย พบว่าระดับความ
                                         ื
                เสียหายจะเป็นลักษณะของการนูนโก่งตัวเป็นกระดองเต่า ซ่งจากการศึกษารูปแบบของการแตก พบว่าลักษณะการของอาคาร
                                                             ึ
                กรณีศึกษานี้ไม่ใช่การแตกร้าวซึ่งเกิดจากโครงสร้างของอาคาร  แต่สามารถอาจตั้งสมมุติฐานได้เป็น  2  กรณี  คือ  กรณีที่  1
                การแตกร้าวเนื่องจากช่างปูกระเบื้องไม่ได้มาตรฐาน และกรณีที่ 2 การแตกร้าวจากการยืด-หดตัวของวัสดุ โดยพื้นคอนกรีต
                                                    ั
                และกระเบื้องมีการหดตัวท่ไม่สัมพันธ์กัน  อีกท้งเม่อพิจารณาในลักษณะภาพรวมของแนวโน้มความเสียหาย  พบว่า  ระดับ
                                                       ื
                                     ี
                ความเสียหายจะไล่จากน้อยไปมากในด้านทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก ตามล�าดับ
                6. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
                                                                                ื
                       งานวิจัยช้นน้เป็นการประเมินความเสียหายของการหลุดล่อนของกระเบ้องปูพ้นทางเดินเหนือระเบียงคด พระบรมธาต ุ
                                                                            ื
                               ิ
                                 ี
                                                                          �
                                                             ี
                                                                                    ี
                                                                                                          �
                                              ี
                มหาเจดีย์ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ท่ใช้เป็นกรณีศึกษาน้ปัจจุบันเกิดการชารุดเสียหายท่เห็นได้อย่างชัดเจน จากการสารวจ
                                                                                ื
                เบ้องต้น จึงเลือกเป็นกรณีศึกษาถึงรูปแบบ และลักษณะการเกิดการเส่อมสภาพของพ้นในแบบต่างๆ ของอาคารโบราณสถาน
                  ื
                                                                     ื
                เพื่อศึกษาปัจจัยที่ท�าให้เกิดการเสื่อมสภาพของพื้นกระเบื้องทางเดินภายนอก  ผลการวิจัยพบว่า  การหลุดล่อนของกระเบื้อง
                                           ี
                ไม่เพียงแต่เกิดจากการปูกระเบ้องท่ไม่ได้มาตรฐานเป็นสาเหตุสาคัญเพียงอย่างเดียวเท่าน้น การชารุดของโครงสร้างก็เป็นอีก
                                        ื
                                                                                    ั
                                                                �
                                                                                          �
                ปัจจัยหนึ่ง และยังพบว่ามีการแตกร้าวจากการยืดหดตัวของวัสดุทั้งพื้นคอนกรีต และกระเบื้องมีการหดตัวที่ไม่สัมพันธ์กัน
                       ข้อเสนอแนะ ส�าหรับซ่อมแซม พื้นกระเบื้อง ควรมีข้อควรพิจารณาเพิ่มเติมดังนี้
                                                                                            ้
                                                                                  ื
                                               ื
                                                                                            �
                                       �
                                      ี
                       1. ควรหาสาเหตุท่ทาให้กระเบ้องหลุดล่อนเสียก่อน  ถ้าพบว่าเกิดจากความช้น  (เช่น  มีนาซึม  สีทาผนังบวมปูด)
                อาจต้องรื้อกระเบื้องทั้งหมด แล้วแก้ไขเรื่องนี้ให้ได้ก่อนปูกระเบื้องใหม่ลงไป ไม่อย่างนั้น กระเบื้องก็จะยังคงล่อนต่อไป ไม่มี
                วันจบ แต่ถ้ากระเบื้องหลุดล่อนเพราะปูนยึดติดไม่ดี ก็เปลี่ยนเฉพาะแผ่นที่มีปัญหาได้
                                        ี
                             ั
                                                   ื
                                                                                               ี
                       2. ในข้นตอนการเปล่ยนหรือปูกระเบ้องต้องมีการสกัดปูนกาวออก ควรหาทางป้องกัน เศษปูนท่อาจกระจัด-กระจาย
                ไปตามซอกมุมต่างๆ ให้ดี ก่อนลงมือซ่อมแซมพื้นกระเบื้อง
                       3. ป้องกันความชื้นไม่ให้ขึ้นมาสัมผัสกับปูนและแผ่นกระเบื้อง ด้วยวัสดุป้องกันความชื้น (กันซึม) ใช้ได้ทั้งแบบทา
                และแบบแผ่น ต้องเลือกแบบที่ปูกระเบื้องทับลงไปได้
                เอกสารอ้างอิง
                                                                       ื
                      ี
                กตญชล เวชวมล. 2543. อิทธิพลของความช้นและแสงแดดต่อการเส่อมสภาพของจิตกรรมฝาผนังในวัด. วทยานพนธ  ์
                   ั
                                                                                                      ิ
                                                                                                          ิ
                                                   ื
                           ิ
                                                                                                ั
                                                                                           ิ
                                              ิ
                                                                                       ์
                          ิ
                              ิ
                                                                  ์
                                           ั
                       ปรญญาวทยาศาสตรมหาบณฑต สหสาขาวชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม จฬาลงกรณมหาวทยาลย. www.weberthai.
                                                                               ุ
                                                       ิ
                                                                            ้
                       com/weber/knowledge/tileadhesive-tip/why-tilesexplodes.html.
                                            ื
                จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2556. การเส่อมสภาพของโบราณสถานและโบราณวัตถุ. ส่วนท่ 21 หน้า 12 หน้า. ในการประชุม
                                                                                     ี
                       วิชาการ.
                                                                         ุ
                                    �
                                                                                                           ิ
                พระพรหมบัณฑิต 2556 ลาดับเหตุการณ์การค้นพบพระบรมสารีริกธาต. ประวัติวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร, เชน พร้นต้ง ิ
                สันติ เล็กสุขุม. 2552. เจดีย์ ความเป็นมาและค�าศัพท์เรียกองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพ มติชน.
                      ิ
                สมศักด์  ธรรมเวชวิถี  2557  โครงการศึกษาออกแบบบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระบรมธาตุมหาเจดีย์และเจดีย์รายล้อม
                       วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                              55    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65