Page 61 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 61

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







                           พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต กรณีศึกษาชุมชนบนถนนปากแพรก จังหวัดกาญจนบุรี
                      Living Museum: A Case Study of Community on Pakprak Road, Kanchanaburi



                                  จิราพร จิวานุวงศ์   ชูวิทย์ สุจฉายา   สุพัฒน์ บุญยฤทธิกิจ 3
                                                                   2
                                                  1

               บทคัดย่อ

                      พิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต ได้รับความสนใจและปรากฏค�าส�าคัญน้ในหลายโครงการภายหลังปี พ.ศ. 2550 เช่น ตลาดร้อยปี
                                                                 ี
                               ี
               สามชุก โครงการอนุรักษ์เมืองแม่ฮ่องสอน เมืองจอร์จทาวน์ ประเทศมาเลเซีย ฯลฯ ซึ่งจะเป็นแนวทางที่ช่วยรักษารากเหง้า
               ของพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ แก้ปัญหาของการพัฒนา (Top-Down Approach) ที่ผ่านมา และตอบโจทย์นโยบายของภาครัฐ
               ดังน้น  เพ่อท�าความเข้าใจ  หลักเกณฑ์หรือปัจจัยประกอบการจัดต้งพิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต  ให้เป็นรูปธรรมมากข้น  จึงน�ามาสู่
                                                                            ี
                                                                  ั
                  ั
                                                                                                  ึ
                       ื
               วิทยานิพนธ์ของผู้วิจัยในเรื่อง พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต กรณีศึกษา ชุมชนบนถนนปากแพรก อ�าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
                      โดย พบว่าพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) งบประมาณ 2) สถานที่ 3) ประวัติศาสตร์
                                                                     ั
                                                                                                 ึ
                                                                                                        ื
               4)  ผู้คน  และ  5)  กิจกรรม  โดยด�าเนินการผ่านกระบวนการทดลองต้งโจทย์  เก็บข้อมูล  และท�ากิจกรรมซ่งเป็นเคร่องมือ
               ในการวิจัยที่เปิดให้ทั้งคนในและคนนอกชุมชนมีส่วนร่วม  ผู้วิจัยพบว่า  สามารถสัมผัสถึงความภาคภูมิใจของคนในพื้นที่จาก
                         ื
                                                                           ั
                                                   ั
                                                                                    ิ
               การบอกเล่าเร่องราวของตนเองและชุมชน รวมท้งต้องการรักษาบรรยากาศแบบด้งเดิมไว้ แต่ส่งท่เป็นข้อท้าทายต่อความส�าเร็จ
                                                                                       ี
                                            ่
                                          ื
                                     ิ
                                          ้
                                                                      ่
                                              ื
                                                                                       ื
                                                                                 �
                                                                                         ั
                                            ี
                                                                      ื
                                                                                                  ่
                              ั
                           ิ
               ของโครงการพิพธภณฑ์ท่มชีวตในพนท คอ การสร้างกระบวนการในการสอสารและการทางานเพ่อต้งเป้าหมายรวมกันระหว่าง
                                   ี
                                  ี
                                               ี
                                                 ี
                                       ิ
               เทศบาลเมืองฯ  กับคนในท้องถ่น  และผู้ท่เก่ยวข้อง  เป็นการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วมและท�าความเข้าใจกันอย่างม ี
                                                                         ึ
               ประสิทธิภาพ ซ่งจะส่งผลเป็นล�าดับ ดังน้ 1) มีการรับฟังเสียงซึ่งกันและกันมากข้น 2) ส่งเสริมทัศนคติที่ดีเชิงคุณค่าหรือประโยชน์
                          ึ
                                            ี
               ของการท�าหน้าที่ต่อตนเองและต่อสังคม 3) สนับสนุนให้เกิดผู้น�าที่แท้ขึ้นจากทั้งสองฝ่ายและ 4) ท�าให้เกิดความต่อเนื่องด้าน
               นโยบายของฝ่ายบริหารของเทศบาลเมืองฯ  ในแต่ละสมัย  และคาดหวังว่าแนวความคิดพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตจะเป็นตัวผลักดัน
               ปากแพรกไปสู่การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและฟื้นฟูชุมชนต่อไป อีกทั้งยังเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชน สภาพแวดล้อม และ
               ความเป็นเมืองทางประวัติศาสตร์ให้ร่วมสมัยและด�ารงอยู่อย่างยั่งยืน
               ค�าส�าคัญ: พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ชุมชน พื้นที่ทางประวัติศาสตร์ การอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม
               Abstract
                      Living  Museum  has  been  attracting  considerable  attention  and  appear  as  the  key  word  in  several
               projects after 2007 such as Samchuk Old Market, Mae Hong Son City, Georgetown, Malaysia, etc. This is an
               approach that helps preserving the root of historical area, solving the effect of Top-Down Approach development
               in the past and responding to governmental policy. Therefore, to understand principles or factors of establishing
               a  living  museum  more  substancially  that  leads  to  my  thesis  study  of  Living  Museum:  A  Case  Study  of
               Community on Pakprak rd., Kanchanaburi.
                      This thesis’s output is found that there are 5 components of being living museum: 1. Budget 2. Place
               3. History 4. People and 5. Activities. Through experimental process: hypothesis, data collection and related
               1   สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์
               2   สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์
               3   ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง



               Vol.  8                                      56
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66