Page 107 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 107
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
�
1. เกณฑ์ตัวเลข เป็นค่าตัวเลข ต้องใช้การจาลองสภาวะด้วยโปรแกรมของผู้เช่ยวชาญ โดยเกณฑ์
ี
ในรูปแบบนี้จะใช้การก�าหนดค่าส�าหรับการจ�าลองสภาพเป็นหลักจึงระบุเป็นตัวเลขในช่วงปีต่างๆ ทุก 5 ปี เพื่อให้ผู้ที่ต้องการ
ทราบว่าบ้านพักอาศัยที่ตนเองออกแบบ/ก่อสร้างสามารถเป็นบ้านประหยัดพลังงานได้หรือไม่การก�าหนดค่าต่างๆ ถูกระบุไว้
การจ�าลองสภาพเพื่อให้ได้ค่าการใช้พลังงานควรใช้โปรแกรมที่มีรูปแบบการค�านวณแบบไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) เป็นหลัก
2. เกณฑ์ตัวเลือก เป็นการตรวจสอบโดยตัวเลือก (Check List) อย่างง่ายตามวัสดุและอุปกรณ์ภายในบ้าน
โดยเกณฑ์ในรูปแบบเงื่อนไขถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ส�าหรับการก�าหนดรูปทรงอาคาร วัสดุ และอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่างในตัวบ้าน
ื
ื
โดยมีค่าดัชนีการใช้พลังงานใกล้เคียงกับเกณฑ์ในรูปแบบตัวเลข รูปแบบเง่อนไขน้ถูกพัฒนามาเพ่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ
ี
ี
ี
ี
�
ั
ในรูปแบบเช็คลิสต์ เหมาะสาหรับบ้านพักอาศัยท่มีลักษณะท่วไป ดังน้ 1) เป็นบ้านพักอาศัยท่มีผังพ้นรูปทรงใกล้เคียงรูป
ื
สี่เหลี่ยม และมีช่องเปิดอยู่ระหว่าง 10%-40% 2) เป็นบ้านพักอาศัยที่มีจ�านวนผู้อาศัยปกติไม่เกิน 1-2 คน ต่อหนึ่งห้องนอน
3) เป็นบ้านพักอาศัยในรูปแบบ บ้านเดี่ยว บ้านเดี่ยวใต้ถุนสูง และทาวน์เฮาส์ที่มีความสูงไม่เกิน 2 ชั้นแสดงลักษณะเกณฑ์
แบบเช็คลิสต์ที่สร้างขึ้นในโครงการ
ั
ี
ื
ื
�
ดังน้นแผ่นพับองค์ความรู้ท่จะใช้เป็นส่อในการทาการประชาสัมพันธ์ ในเร่องเกณฑ์มาตรฐานการใช้
พลังงานสาหรับบ้านพักอาศัยของประเทศไทย โดยทางโครงการฯ ได้ออกแบบแผ่นพับองค์ความรู้มาแล้วจากการว่าจ้างบริษัท
�
ภายนอก ซึ่งแผ่นพับองค์ความรู้ที่ได้นั้นจะต้องตอบโจทย์และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ที่ต้องท�าการประชาสัมพันธ์
ให้กับประชาชนเข้าใจและยอมรับในเรื่องเกณฑ์ดังกล่าว
รูปที่ 10 กระบวนการท�าประชาสัมพันธ์เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ิ
ื
ื
4.1.2 ปัจจัยส่ออินโฟกราฟิกในรูปแบบแผ่นพับเพ่อการประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ คือ ส่งพิมพ์ท่ขณะใช้งาน
ี
จะมีการพับ เข้าและกางออก โดยจะมีลักษณะเด่นอยู่ตรงที่มีขนาดเล็ก หยิบถือพกพาได้สะดวก สามารถเก็บรวบรวม ข้อมูล
ื
ได้มาก (รัชชนก สวนสีดา, 2547) ซ่งในปัจจุบันมิได้มุ่งเน้นให้อ่านส่อความหมายเพียงอย่างเดียว แต่ยังเน้นให้มีความสวยงาม
ึ
สะดดตา และจดจาได้ง่าย สามารถสอสารทาความเข้าใจให้กบประชาชน โดยรูปแบบการน�าเสนอของแผ่นพับได้มีความ
ั
่
�
ื
ุ
�
แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์การใช้งาน และยังต้องสามารถสื่อสารความหมายแทนข้อมูลในการน�าเสนอได้ด้วย ซึ่งการจะ
ั
�
ื
นาข้อมูลเน้อหาท่มีจานวนมากมาทาการประชาสัมพันธ์ให้เกิดความเข้าใจน้นจะต้องมีการอาศัยการประยุกต์ท้งศาสตร์และศิลป์
ั
�
�
ี
ื
ื
ี
ประกอบเข้าด้วยกันหรือท่เรียกว่า “อินโฟกราฟิก” (Info Graphics) เพ่อใช้จัดการข้อมูลในการนาเสนอบนส่อแผ่นพับเพ่อการ
�
ื
ท�าประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนสามารถเข้าใจได้ง่าย
Vol. 9 100