Page 106 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 106
ื
ั
�
สร้างเคร่องมือและตรวจสอบรูปเล่มรายงานของโครงการฯ โดยทาการพิจาณาแยกแต่ละบทท้งหมด 9 บทและตรวจสอบ
แบบทีละหน้า ซึ่งผลการวิจัยพบว่าบทที่ 9 มีความซับซ้อนของข้อมูลตัวเลขมากที่สุด (*7 หมวด) ซึ่งวัดเป็น 70% ของบท
ที่ต้องมีการน�าตัวเลขไปตีค่าและตีความหมายก่อนท�าความเข้าใจในการท�าประชาสัมพันธ์
4. การจัดการข้อมูลผ่านสื่ออินโฟกราฟิกในรูปแบบแผ่นพับ กรณีศึกษาโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้
พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน
4.1 ทบทวนวรรณกรรมและการหากรอบแนวคิดที่ 2
4.1.1 การจัดการข้อมูลในรูปแบบแผ่นพับของโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้าง
ต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน จากกระบวนการประชาสัมพันธ์ โดย Cutlip and Center ได้กล่าวถึงการท�าประชาสัมพันธ์
ี
ว่าด้วยการวางแผน ในการท่จะให้มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นของประชาชน โดยเป็นการส่อสารสองทางระหว่างองค์กรกับ
ื
ประชาชน ซึ่งวิจิตร อาวะกุล และ วิมลพรรณ์ ตั้งจิตเพิ่มความดี ได้กล่าวถึงการประชาสัมพันธ์ที่มุ่งเน้นไปที่การมีเป้าหมาย
เพื่อให้หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ (จากความหมายของการประชาสัมพันธ์ ดังรูปที่ 2)
โดยโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงานเป็น
�
ี
ี
ึ
�
โครงการท่ทาการศึกษาแนวทางการส่งเสริมบ้านประหยัดพลังงาน ซ่งมีภาระหน้าท่ทางด้านการจัดทาประชาสัมพันธ์และ
�
ั
ื
เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน ในเร่องของเกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานสาหรบบ้านพักอาศัยของประเทศไทย
ในรูปแบบของแผ่นพับเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนชน ซึ่งจากรูปเล่มรายงานการวิจัยทั้งหมด 214 หน้า ทางโครงการฯได้ท�า
การว่าจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาออกแบบจัดการข้อมูลรายงานให้ออกมาในสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบแผ่นพับ โดยมีลักษณะ
เป็นกระดาษขนาดเอสี่พับครึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยในแต่ละส่วนมีข้อมูลน�าเสนอ ดังภาพต่อไปนี้
รูปที่ 9 แผ่นพับองค์ความรู้เรื่องเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัย
ที่มา: โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน (2560)
ั
ี
�
ี
ดังน้นจากความหมายการประชาสัมพันธ์ข้างต้น ท่มุ่งเน้นไปท่เป้าหมายการทาประชาสัมพันธ์เพ่อให้
ื
ี
�
องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ท่วางไว้ เช่นเดียวกันกับโครงการฯท่มีจุดประสงค์ในการทาประชาสัมพันธ์ เพ่อให้ความรู้แก่ประชาชน
ื
ี
ึ
ในเร่องเกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานสาหรับบ้านพักอาศัยของประเทศไทย โดยจุดประสงค์ของโครงการฯ จัดทาข้นเป็นรูปแบบ
�
ื
�
ั
ั
ั
ึ
้
่
ทสร้างขนเพอควบคมบ้านพกอาศยใหม่ในอนาคตจานวน 12 ล้านหลง โดยคาดว่าจะสามารถปรบลดการใช้พลงงานลงได้
่
ี
ื
ั
�
ุ
ั
ประมาณ 5,000 GWh หรือคิดเป็น 37% ของปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ต้องการปรับลดในปี พ.ศ. 2579 (13,633 GWh)
ตามเป้าหมายที่กระทรวงพลังงานก�าหนดในแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015)
โดยเกณฑ์การใช้พลังงานที่สร้างขึ้น สามารถเลือกใช้ได้ 2 รูปแบบ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
99 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.