Page 132 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 132
รูปที่ 4 สวนแนวตั้งกรณีศึกษา
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
วัดปริมาณแสงสว่างบนสวนแนวตั้งเพื่อการวางต�าแหน่งพืชพรรณที่เหมาะสม
3. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
3.1 สวนแนวตั้ง (Vertical Garden)
สวนแนวตั้ง คือ การปลูกต้นไม้ย้ายจากแนวราบสู่แนวตั้ง (สมพล เบญจสว่างจิตต์, 2556) บนโครงสร้างถาวร
ั
ี
ั
�
ี
ท่มีอยู่เดิมแล้วอันได้แก่ กาแพง เสา ผนังตึก หรือวัสดุโครงสร้างท่มีการสร้างข้นช่วคราว การออกแบบสวนแนวต้งจะ
ึ
แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับที่ตั้งของการจัดสวน (Green Roofs for Healthy Cities, 2008) กล่าวคือ การวางแนวและต�าแหน่ง
ผนังสีเขียวส่งผลต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของพืช การปลูกพืชในต�าแหน่งด้านบน แสง การระบายอากาศ ความชื้น
ย่อมแตกต่างกับต�าแหน่งระดับที่ต�่ากว่า (Loh, 2008)
ั
ั
Tautvydas (Vertical Landscape Desıgn, 2015) กล่าวว่า ในระหว่างข้นตอนการออกแบบสวนแนวต้ง
ี
ื
ี
�
สภาพอากาศเป็นส่งท่สาคัญท่สุดท่ต้องการวิเคราะห์คานึงถึงโดยเฉพาะปริมาณรังสีดวงอาทิตย์ เน่องจากสภาพอากาศมีผลต่อ
�
ิ
ี
ื
ี
ี
ี
การเลือกชนิดพรรณพืชท่ใช้ในการจัดสวน พืชบางประเภทสามารถเจริญเติบโตได้ดีในพ้นท่กลางแจ้ง พ้นท่ท่มีร่มเงา หรือพ้นท ี ่
ื
ี
ื
ในอาคาร จึงต้องมีการคัดเลือกพืชอย่างรอบคอบ เพื่อให้สามารถรับมือกับสภาพอากาศเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่งได้
ิ
ั
องค์ประกอบของสวนแนวต้งองค์ประกอบสวนการสร้างความน่าสนใจดึงดูดสายตาเพ่มคุณค่าและประโยชน์ใช้สอย
ื
ิ
ิ
�
องค์ประกอบสวนเป็นส่วนท่สาคัญในการเพ่มลูก เล่นมุมมองประยุกต์ใช้วัสดุสร้างสรรค์แนวคิดการใช้องค์ประกอบสวนเพ่อเพ่ม
ี
ความน่าสนให้กับสวนแนวตั้ง
1. สิ่งปลูกสร้างถาวรที่มีอยู่เดิมได้แก่กาแพงเสาผนังตึก
2. โครงสร้างส�าหรับทาที่ปลูกต้นไม้
3. ที่ปลูกต้นไม้ เช่น แผ่นเฟลฟ์ (Fellf) ส�าหรับท�าช่องเป็นกระเปาะปลูกต้นไม้ช่องตารางส�าหรับวางต้นไม้
4. ต้นไม้
ั
ึ
ี
ื
5. อ่นๆ การสร้าง Pattern ของไม้พ้นสมาร์ทวูดกระถางท่ออกแบบข้นเฉพาะกระบะใส่ไม้ กระถางไม้ ร้ว
ื
หรือไม้บังตา
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
125 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.