Page 133 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 133
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
3.2 ความเข้มของแสงกับพืชพันธุ์ (Light Intensity with Plants)
ึ
ื
ความเข้มของแสง คือ ปริมาณแสงท้งหมดที่พืชได้รับ ซ่งความเข้มของแสงจะแตกต่างกันตามพ้นท เวลา ฤดูกาล
ั
่
ี
ี
ื
ี
และระยะห่างจากเส้นศูนย์สูตรของโลก ในพ้นท่เดียวกัน ความเข้มของแสงจะค่อยๆ เพ่มข้นต้งแต่ดวงอาทิตย์ข้น จนถึงเท่ยงวัน
ึ
ั
ึ
ิ
ั
ั
หรือในช่วงบ่าย จากน้นจะค่อยๆ ลดลงไปจนกระท่งดวงอาทิตย์ตก บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะมีความเข้มของแสงสูงท่สุด
ี
ี
ั
และค่อยๆ ลดลงตามเส้นรุ้งท่มุ่งไปหาข้วโลกในช่วงเวลาเดียวกัน อิทธิพลของความเข้มของแสงต่อการเจริญเติบโตของพืช
ื
ี
�
คือ ความเข้มของแสงท่เหมาะสม โดยท่มีปัจจัยอ่นๆ เหมาะสมและการหายใจเป็นปกติ การสังเคราะห์แสงจะมีอัตราสูง ทาให้
ี
ได้อาหารเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตมาก ระดับความเข้มของแสงที่เหมาะสมต่อพืชแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน อาจแบ่งพืชตาม
ความต้องการความเข้มของแสงออกได้เป็น
3.2.1 พืชในร่ม เป็นพืชท่ต้องการความเข้มของแสงน้อยจึงจะเจริญเติบโตได้ดี พืชพวกน้ ถ้านาไปอยู่กลางแดด
�
ี
ี
ที่มีความเข้มของแสงสูง ใบจะไหม้และต้นชะงักการเจริญเติบโต พืชพวกนี้มักนิยมปลูกไว้ในร่ม ตามชายคาบ้าน บริเวณข้าง
หน้าต่าง และไม้ประดับอาคารสถานที่สรีรวิทยาการผลิตพืช
ี
่
ื
ี
ื
้
่
ี
ึ
่
ึ
3.2.2 พชกงรมกงแจ้ง เปนพชทต้องการแสงท่มการพรางหรือลดความเข้มของแสงลงแล้ว พชพวกนนิยมปลก
ื
ี
ู
่
็
ในที่ร่มที่มีแสงแดดร�าไร
ี
ี
3.2.3 พืชกลางแจ้ง พวกน้ต้องการความเข้มของแสงสูง มีการเจริญเติบโตได้ดีในท่กลางแจ้ง พืชพวกน้จะเป็น
ี
พืชที่ปลูกอยู่ทั่วไป
4. เครื่องมือและวิธีการวิจัย
4.1 การส�ารวจพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล
ั
ิ
ั
สวนแนวต้งกรณีศึกษาตดต้งประมาณเดือนธันวาคม 2560 โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ของร้านนอกชาน
ภายในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ละติจูดที่
13°43’31.1”N ลองจิจูด 100°46’28.3”E
รูปที่ 5 สวนแนวตั้งกรณีศึกษา
ที่มา: www.google.com/maps
Vol. 9 126