Page 130 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 130
The plant survived 74 trees of 96, representing 22.91% of all dead plant in Zone A, and Zone C is lowest
brightness of all at 0.6 meters. The plant survived 25 of the 96, representing for 73.95 percent of all dead
plant in Zone C. Know the amount of light on the vertical garden. It is used to select the species to suit the
light intensity in the area. Can live further study will be conducted.
Keyword: Light Intensity, Vertical Garden, Plant
1. บทน�า
สวนแนวตั้ง หรือ Vertical Garden เป็นทางเลือกหนึ่งในการสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับอาคารที่มีพื้นที่จ�ากัด สามารถ
ท�าได้ทั้งในร่ม ร�าไร หรือกลางแจ้ง ส�าหรับสวนแนวตั้งอยู่ในร่ม หรือในที่มีแสงน้อย พันธุ์ไม้ที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติที่ต้องการ
ี
�
แสงน้อย เป็นพืชในร่ม (Indoor Plant) หากเป็นบริเวณกลางร่มราไร พรรณไม้ท่เลือกใช้จะเป็นไม้ร่มราไร (Partial Sun Light)
�
้
ุ
่
ั
ื
ิ
ั
ี
ิ
ี
และหากเป็นสวนแนวตงท่บรเวณกลางแจ้ง หรอบรเวณรอบนอกบ้าน การใช้พนธ์ไม้ย่อมต้องเป็นไม้ทชอบแดด (Full-Day
Sun Light) ทนทานแล้งได้ดีเช่นกัน เมื่อไหร่ก็ตามที่เลือกใช้พืชพรรณได้อย่างถูกต้องอาจไม่มีการสับเปลี่ยนพืชพรรณใดๆ
(ดารณี ด่านวันดี และคณะ, 2556)
การทดลองของ สายฟ้า วิรานุช และสุจิตรา จันทร์สม เกี่ยวกับการคัดเลือกพรรณพืชที่เหมาะสมมาใช้ในการจัด
สวนแนวตั้งในระบบ The Selection of Modular Green hive plant for Vertical Garden in Modular Green Hive
System ด้วยการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพรรณไม้ จากการคัดเลือกพรรณไม้ 12 ชนิด ท�าการวัด
ค่าความเข้มแสง ในร่ม ร�าไร และกลางแจ้ง ในต�าแหน่งเหนือทรงพุ่มของต้นพืช ทั้ง 3 แผงมีการควบคุมระบบการให้น�้า ปุ๋ย
ี
ี
�
ั
ั
ั
ั
แบบต้งเวลาอัตโนมัติ รวมท้งวัสดุปลูกท่เหมือนกัน แผงท่ 1) ต้งภายในอาคารทาการวัดความเข้มแสงท้งหมด 9 จุด ทุก 1 เดือน
วัดพบว่าพืชมีอัตราการรอดชีวิตของพรรณไม้ 100%
รูปที่ 1 แผงสวนแนวตั้งพื้นที่ภายในอาคาร เดือนธันวาคม เดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ ตามล�าดับ
ที่มา: สายฟ้า วิรานุช และสุจิตรา จันทร์สม การคัดเลือกพรรณพืชที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดสวนแนวตั้งในระบบ
The selection of modular green hive plant for Vertical Garden in Modular Green Hive System (2558)
�
�
�
ั
ี
แผงท่ 2) ต้งภายในสภาพแสงราไร บริเวณโรงเรือน หลังตึกวิจัย เอสซีจี กับพรรณไม้ในร่มราไร 12 ชนิด ทาการวัด
ค่าความเข้มแสงทุก 1 เดือน โดยเปรียบเทียบแสงในต้นเช้า กลางวัน และเย็น ทั้งหมด 9 จุด ต�าแหน่งบน 3 จุด ต�าแหน่ง
กลาง 3 จุด และตาแหน่งล่าง 3 จุด พบว่า พืชท่มีอัตราการรอดชีวิต เท่ากับ 0% (ต้นไม้ตาย) 1 ชนิด ได้แก่ ฟิโลหยกใบเล็ก
ี
�
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
123 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.