Page 134 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 134
รูปที่ 6 สวนแนวตั้งกรณีศึกษา
ที่มา: ผู้วิจัย 2561
ประกอบด้วยระบบ 4 ส่วนด้วยกัน คือ
�
้
้
้
�
1. ระบบการให้นาประกอบด้วยถังใส่สารละลายธาตุอาหารพืช มีการให้สารละลาย และน�าแบบไม่วนใช้ซา
ี
ั
ื
โดยการให้นาในปริมาณตามท่พืชและระบบปลูกต้องการทีละน้อย เป็นคร้งๆ ผ่านเคร่องต้งเวลา (Timer) แบบอัตโนมัติ โดยใช้
ั
้
�
ปั้มน�้าดูดสารละลาย ผ่านท่อ PE ขึ้นไปด้านบนของผนังสวนแนวตั้ง จากนั้นปล่อยน�้า และสารละลายผ่านท่อ Micro Tube
ขนาด 3 มิลลิเมตร เพื่อให้สารละลายไหลลงแผ่นปลูกทุกช่องของทุกวัน เวลา 16.00-16.20 น. รวม 20 นาที
2. โครงสร้างรองรับสวนแนวตั้ง เป็นโครงสร้างเหล็กมีคานรองรับน�้าหนักเพื่อรองรับการปลูกพืชทางตั้ง โดยมี
ขนาด 2.00 x 6.25 เมตร (ยาว x สูง)
รูปที่ 7 องค์ประกอบสวนแนวตั้งกรณีศึกษา
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
3. แผงปลูกที่เป็นตัวม่านท�าจากวัสดุ PVC เป็นแผ่นคล้ายกระสอบปุ๋ยประกบกับผ้าสักหลาด กว้าง 1.2 เมตร
ยาว 1.8 เมตร จ�านวน 3 ชิ้น ตามการแบ่งช่องโครงสร้างเหล็ก เพื่อใช้เป็นวัสดุน�าความชื้น แต่ละชิ้นท�าการเย็บเป็นช่อง
สี่เหลี่ยมคล้ายตารางหมากรุก เพื่อใช้ปลูกต้นไม้
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
127 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.