Page 129 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 129

Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018
                                                  th







                    ปริมาณแสงสว่างธรรมชาติที่ส่งผลด้านการจัดวางต�าแหน่งพืชพรรณบนสวนแนวตั้ง
                     กรณีศึกษา: ร้านนอกชาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
                    The Amount of Natural Lighting that Effect Plant Position on Vertical Garden

               Case study: Nokchan Coffee Shop King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang



                                                                    2
                                              1
                               ศุภาพิชญ์ จันทร  สุพัฒน์ บุณยฤทธิกิจ  รุ่งโรจน์ วงศ์มหาศิริ 3
             บทคัดย่อ

                                                                                                  ี
                                                                                                ื
                                                                                             ี
                            ั
                                                                                                       �
                    สวนแนวต้ง  หรือ  VERTICAL  GARDEN  เป็นทางเลือกในการสร้างพ้นท่สีเขียวให้กับอาคารท่มีพ้นท่อย่างจากัด
                                                                           ื
                                                                             ี
             เพ่อให้เกิดความสวยงาม  ช่วยลดอุณหภูมิ  ลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคารบ้านเรือน  หากมีการเลือกชนิดพืชพรรณท ี ่
               ื
             เหมาะสมกับสวนแนวต้งท่คานึงถึงปัจจัยการปลูกอาจไม่ต้องมีการเปล่ยนพรรณไม้ใดๆ ซ่งแสงเป็นปัจจัยหน่งของการดารงชีวิต
                                                                                                     �
                              ั
                                                                                            ึ
                                                                 ี
                                  �
                                ี
                                                                               ึ
             ของพืช  ในการปรุงอาหารด้วยการสังเคราะห์แสง  จากการส�ารวจสวนแนวตั้งกรณีศึกษาเกิดการตายของพรรณไม้  จึงสนใจ
                                                                                   ื
                          �
                                                      ื
             ศึกษาปัจจัยการดารงชีวิตของพืชเพียงปัจจัยเดียวคือเร่องแสงธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อวัดปริมาณแสงสว่างธรรมชาต ิ
                                                    ี
                          ื
                                  �
                                                                                        ั
                       ั
                                                                                                       �
             บนสวนแนวต้งเพ่อการวางตาแหน่งชนิดพืชพรรณท่เหมาะสม มีกระบวนการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ข้นตอน คือ 1) การสารวจ
             พื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล  2)  วัดค่าความเข้มแสง  โดยแบ่งพื้นที่การวัดเป็น  3  ส่วน  คือ  โซน  A,  B  และ  C  ตามแนวทางตั้ง
             และแบ่งตามระดับความสูง  จากขอบบนสุด  ถึงล่างสุด  และกึ่งกลางของสวนที่ระดับ  1.2  เมตร  0.6  เมตร  และ  0  เมตร
             ตามลาดับ ผลจากการวัดสรุปได้ว่า โซน A มีค่าความสว่างสูงท่สุด ท่ระดับความสูง 1.2 เมตร มีพรรณไม้ท่ชีวิตรอด 74 ต้น
                 �
                                                                                              ี
                                                             ี
                                                                 ี
             ตาย 22 ต้น หรือ ต้นไม้ท่ตายคิดเป็นร้อยละ 22.91 ของต้นไม้ท้งหมดในโซน A และโซน C มีค่าความสว่างตาท่สุด ท่ระดับ
                                                                                                  ี
                                                                                                      ี
                                                                                                �
                                                                                                ่
                                                              ั
                                 ี
             ความสูง 0.6 เมตร มีพรรณไม้ที่มีชีวิตรอด 25 ต้น ตาย 71 ต้น หรือ ต้นไม้ที่ตายคิดเป็นร้อยละ 73.95 ของต้นไม้ทั้งหมด
             ในโซน C เมื่อทราบปริมาณแสงธรรมชาติบนสวนแนวตั้ง จึงใช้เป็นข้อมูลในการเลือกพรรณไม้ให้เหมาะสมกับความเข้มแสง
             ภายในพื้นที่ ให้สามารถอยู่ได้ โดยจะท�าการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป
             ค�าส�าคัญ: ความเข้มแสง  สวนแนวตั้ง  พืชพันธุ์
             Abstract
                    Vertical gardens are an alternative to creating green areas for limited spaces, for aesthetic purposes,
             reducing  heat,  reducing  heat  transfer  to  buildings.  If  the  plant  type  is  appropriate  for  the  vertical  garden,
             taking into account the planting factors. Maybe not change any plants. Light is a factor in grow up for food
             production by photosynthesis. Vertical Gardening Case study have some dead plants so, interested in studying
             the factors of natural light only. The purpose of this study is to measure the amount of natural light on the
             vertical garden to position the plant species. The study process was divided into 2 phases. 1) Survey area
             for  data  collection  2)  Light  intensity  measurement  the  area  is  divided  into  3  zones:  zones  A,  B  and  C
             according to the set. And the height from the top to the bottom and center of the garden are 1.2 meters,
             0.6 meters and 0 meters, respectively. The results show that Zone A has the highest brightness of all at 1.2 m.
             1   หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเขตร้อน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
               เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
             2   ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
             3   ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง



             Vol. 9                                       122
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134