Page 131 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 131
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
รูปที่ 2 แผงสวนแนวตั้งพื้นที่ร่มร�าไร เดือนธันวาคม เดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ ตามล�าดับ
ที่มา: สายฟ้า วิรานุช และสุจิตรา จันทร์สม, การคัดเลือกพรรณพืชที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดสวนแนวตั้งในระบบ
The selection of modular green hive plant for Vertical Garden in Modular Green Hive System (2558)
�
ี
ั
และแผงท่ 3) ต้งภายในสภาพแสงกลางแจ้ง บนดาดฟ้า ตึกวิจัย เอสซีจี กับพรรณไม้กลางแจ้ง 12 ชนิด ทาการวัด
ค่าความเข้มแสงทุก 1 เดือน โดยเปรียบเทียบแสงในต้นเช้า กลางวัน และเย็น ทั้งหมด 9 จุด ต�าแหน่งบน 3 จุด ต�าแหน่ง
กลาง 3 จุด และต�าแหน่งล่าง 3 จุด พบว่า พืชที่มีอัตราการรอดชีวิต เท่ากับ 0% (ต้นไม้ตาย) 1 ชนิด ได้แก่ ต้นหลิวเลื้อย
รูปที่ 3 แผงสวนแนวตั้งพื้นที่กลางแจ้ง ในเดือนธันวาคม เดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ ตามล�าดับ
ที่มา: สายฟ้า วิรานุช และสุจิตรา จันทร์สม, การคัดเลือกพรรณพืชที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดสวนแนวตั้งในระบบ
The selection of modular green hive plant for Vertical Garden in Modular Green Hive System (2558)
ั
ั
ั
ี
กรณีศึกษาคร้งน้เป็นการศึกษาจากสวนแนวต้งสถานท่จริง ต้งอยู่ ณ ร้านนอกชาน แนวการต้งของสวน สวนหันหน้า
ั
ี
ั
ี
ทางทิศเหนือ เข้าหาร้าน และหันหลังให้ทิศใต้ พรรณไม้มีท้งหมด 17 ชนิด มีลักษณะการตายบางบริเวณ หลังจากท่ได้มีการ
ปรับปรุงไปแล้วในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ซ่งทางร้านได้ให้นา ปุ๋ย และยาแบบอัตโนมัติในช่วง 16.00-16.30 น. ของทุกวัน
้
ึ
�
จากปัญหาดังกล่าว จึงเป็นที่มาของการศึกษา “ปริมาณแสงสว่างธรรมชาติที่ส่งผลด้านการจัดวางต�าแหน่งพืชพรรณ
บนสวนแนวตั้ง”
Vol. 9 124