Page 157 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 157
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
ิ
ความต้องการต่อรูปแบบการใช้เส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน-ว่งในสวนสาธารณะในภาพรวม พบว่า เส้นทาง
เดิน-วิ่งอยากให้เส้นทางจักรยานแยกออกจากเส้นทางเดิน-วิ่งมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.19 สูงกว่า เส้นทางจักรยาน ที่อยากให้
แยกเส้นทางจักรยานออกจากเส้นทางเดิน-วิ่งเช่นกัน มีค่าเฉลี่ย 4.15
ี
ิ
เส้นทางเดินว่ง มีความต้องการให้เส้นทางจักรยานแยกออกจากเส้นทางเดิน-ว่งมากท่สุด มีค่าเฉล่ย 4.84 รองลงมา
ิ
ี
อยากให้เส้นทางจักรยานมีการติดตั้งอุปกรณ์อ�านวยความปลอดภัย มีค่าเฉลี่ย 4.67 และอยากให้เส้นทางจักรยานที่ใช้ทาง
ร่วมกับเส้นทางเดินวิ่งโดยมีสีเส้นหรือสัญลักษณ์บอก น้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.06
ี
เส้นทางจักรยาน มีความต้องการให้เส้นทางจักรยานแยกออกจากเส้นทางเดิน-ว่งมากท่สุด มีค่าเฉล่ย 4.70
ี
ิ
รองลงมา อยากให้เส้นทางจักรยานมีการติดตั้งอุปกรณ์อ�านวยความปลอดภัย มีค่าเฉลี่ย 4.39 และอยากให้เส้นทางจักรยาน
ที่ใช้ทางร่วมกับเส้นทางเดินวิ่งโดยมีสีเส้นหรือสัญลักษณ์บอก น้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.38
5. สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
1. ผลการวิจัย ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี มีรายได้
ั
ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท มีระดับการศึกษาอยู่ในช่วง ปวช./ปวส./มัธยมปลาย มีอาชีพรับจ้างท่วไปและพนักงานโรงงาน
มีประเภทท่อยู่อาศัยเป็นห้องแถว/หอพัก/อะพาร์ตเมนต์/คอนโด โดยส่วนใหญ่เป็นผู้เช่า มีพฤติกรรมการเข้าถึงเส้นทางจักรยาน
ี
ี
และเส้นทางเดิน-ว่งพบว่า ใช้จักรยานในการมาใช้บริการมากท่สุด โดยมีระยะทางเข้าถึงประมาณ 1-3 กิโลเมตร ความถ่ในการ
ี
ิ
มาใช้บริการคือสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง โดยวันที่มาผู้มาใช้บริการมาที่สุด คือ วันเสาร์-อาทิตย์
ิ
2. ผลวิจัยกลุ่มผู้ใช้บริการสวนสาธารณะมีความพึงพอใจในการใช้บริการเส้นทางเดินว่งในระดับมากสูงกว่าเส้นทาง
จักรยานที่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เส้นทางเดินวิ่งมีความพึงพอใจสูงสุด ด้านเส้นทาง รองลงมา ด้านการออกแบบ
ิ
ื
้
ป้ายสญลกษณ์ของเส้นทาง ด้านพนผวเส้นทาง และ ด้านสงอานวยความสะดวกและความปลอดภย ตามลาดบ เส้นทาง
ั
�
่
ิ
�
ั
ั
ั
ิ
�
จักรยาน มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง โดยสูงสุด ด้านเส้นทาง รองลงมา ด้านส่งอานวยความสะดวกและความปลอดภัย
ด้านพื้นผิวเส้นทาง และระดับปานกลาง ด้านที่จอดรถจักรยาน และด้านการออกแบบป้ายสัญลักษณ์ของเส้นทาง ในรายด้าน
ื
ของเส้นทางเดินว่งด้านเส้นทาง มีความพึงพอใจสูงสุดความพึงพอใจในเส้นทาง ด้านพ้นผิวเส้นทาง มีความพึงพอใจสูงสุด
ิ
ิ
ไม่มีส่งกีดขวาง ด้านการออกแบบป้ายสัญลักษณ์ของเส้นทาง มีความพึงพอใจสูงสุดมีป้ายหรือสัญลักษณ์หรือลูกศรบอกเส้นทาง
�
ิ
ั
ท่ชัดเจน ด้านส่งอานวยความสะดวกและความปลอดภัยมีความพึงพอใจสูงสุด มีพนักงานรักษาความปลอดภัยดูแลอย่างท่วถึง
ี
ทุกทางเข้า-ออก รองลงมา แสงสว่างตลอดเส้นทางเพียงพอ เส้นทางจักรยาน ในรายด้านเส้นทางมีความพึงพอใจสูงสุด
ความพึงพอใจในเส้นทาง ด้านพ้นผิวเส้นทางมีความพึงพอใจสูงสุด ไม่มีส่งกีดขวาง ด้านการออกแบบป้ายสัญลักษณ์ของ
ิ
ื
เส้นทาง มีความพึงพอใจสูงสุดอยู่ในระดับมาก มีป้ายบอกสถานท่ท่ชัดเจน ด้านท่จอดรถจักรยานมีความพึงพอใจสูงสุดตาแหน่ง
�
ี
ี
ี
�
ิ
ี
ท่จอดรถจักรยานมีความเหมาะสม และด้านส่งอานวยความสะดวกและความปลอดภัยมีความพึงพอใจสูงสุด มีพนักงานรักษา
ความปลอดภัยดูแลอย่างทั่วถึงทุกทางเข้า-ออก
3. ผลวิจัยกลุ่มผู้ใช้บริการสวนสาธารณะมีความต้องการต่อรูปแบบการใช้เส้นทางเดิน-ว่งในสวนสาธารณะ
ิ
สูงกว่าเส้นทางจักรยานในสวนสาธารณะ ซึ่งในด้านเส้นทางเดินวิ่ง มีความต้องการ ในระดับมาก โดยสูงสุด เส้นทางจักรยาน
แยกออกจากเส้นทางเดินวิ่ง รองลงมา เส้นทางจักรยานมีการติดตั้งอุปกรณ์อ�านวยความปลอดภัย และด้านเส้นทางจักรยาน
มีความต้องการในระดับมาก โดยสูงสุดอยู่ในระดับมากที่สุด เส้นทางจักรยานแยกออกจากเส้นทางเดินวิ่ง
Vol. 9 150