Page 184 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 184
ตารางที่ 3 แสดงปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานและแนวทางประหยัดพลังงานด้านการใช้พื้นที่
ข้อมูลจากการ ข้อมูลจากการ
ข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสอบถาม สัมภาษณ์ สนทนากลุ่มกับ สรุป
ห้องสมุดโดยผู้วิจัย ผู้ใช้ห้องสมุด 123 คน
เจ้าหน้าที่ 3 คน นักศึกษา 6 คน
พื้นที่ที่คนใช้น้อย
ห้องหนังสือส�าหรับเด็ก ผู้ใช้ห้องสมุดเกินกว่าครึ่ง ห้องหนังสือส�าหรับเด็ก ห้องหนังสือส�าหรับเด็ก ห้องหนังสือส�าหรับเด็ก
(58%) ตอบว่าห้อง จ�ากัดอายุไม่เกิน 15 ปี เนื่องจากจ�ากัดอายุ
หนังสือส�าหรับเด็ก (สถิติการเข้าใช้บริการ *หมายเหตุ: เมื่อก่อนเคย
ประมาณ 30 คนต่อ เปิดให้ผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม
เดือน) (พ.ศ. 2554-2560 เข้าไปได้ แต่ส่วนใหญ่
รวมทั้งหมด 1,437 คน) เข้าไปพักผ่อนจึงจ�ากัด
อายุผู้ใช้บริการ
ปัญหาการใช้พื้นที่
- เก็บหนังสือไม่เพียงพอ - ที่นั่งไม่เพียงพอ
- ที่นั่งไม่เพียงพอ - เก้าอี้ และโต๊ะไม่
เหมาะสม
- การใช้พื้นที่ผิด
- - -
วัตถุประสงค์
- มีเสียงรบกวนต้องการ
พื้นที่ที่สร้างความเป็น
ส่วนตัว
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
6. การอภิปรายผลการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัยแบ่งเป็น 3 ประเด็นหลัก คือ ด้านอุณหภูมิ ด้านแสงสวาง และด้านการใช้พื้นที่
6.1 ด้านอุณหภูมิ
ข้อมูลจากการสังเกต สอบถามผู้ใช้ห้องสมุด สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ และสนทนากลุ่มกับนักศึกษาพบว่าบริเวณ
ื
�
ี
ี
ริมหน้าต่างเป็นบริเวณท่ร้อนท่สุดในเวลากลางวัน เน่องจากมีแสงแดดส่องเข้ามาพร้อมนาพาความร้อนสู่ภายในห้องสมุด
ึ
ซ่งอุณหภูมิภายกระเปาะแห้งในห้องสมุดควรอยู่ท่ 24°c และมีความช้นสัมพัทธ์ 55% RH ตามเกณฑ์มาตรฐานระบบปรับอากาศ
ื
ี
และระบายอากาศ (วสท.-3003-51) (สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย, 2551) และควรส่งเสริมสภาวะน่าสบาย
ี
ประกอบด้วยอุณหภูมิท่ 22-29°c และความช้นสัมพัทธ์ท่ 40-75% RH (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ื
ี
กระทรวงพลังงาน, 2560) ฉะนั้น ควรเปลี่ยนวัสดุกระจกหน้าต่างเดิมเป็นกระจกกันความร้อนเพื่อลดอุณหภูมิความร้อนจาก
แสงแดดในตอนกลางวันบริเวณริมหน้าต่าง ซ่งข้อมูลจากแบบสอบถามพบว่าผู้ใช้ห้องสมุดส่วนใหญ่ (98%) เห็นด้วยในการใช้
ึ
กระจกกันความร้อน
ในส่วนบริเวณที่มีอุณหภูมิหนาวเย็นที่สุดจากข้อมูลจากการสังเกต สอบถามผู้ใช้ห้องสมุด สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่
และสนทนากลุ่มกับนักศึกษาพบว่าเป็นบริเวณส่วนอ่านหนังสือกลางห้องที่มีลมเย็นตกลงมา ซึ่งจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่
้
�
�
้
เร่องระบบปรับอากาศภายในห้องสมุดได้ให้ข้อมูลว่าระบบปรับอากาศเป็นชนิดรวมศูนย์ระบายความร้อนด้วยนา โดยส่งนาเย็น
ื
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
177 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.