Page 185 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 185
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
มายังเครื่องส่งลม AHU และควบคุมด้วย Thermostat ควบคุมด้วยการหรี่ Valve ของน�้าเย็นตามความต้องการ ซึ่งในการ
ิ
ิ
ื
ิ
เพ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศควรเพ่มการใช้เคร่องควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติจะช่วยเพ่มประสิทธิภาพ
ิ
ึ
ี
ิ
ึ
การประหยัดพลังงานภายในห้องสมุดได้ดีย่งข้น (ชนิกานต์ ย้มประยูร, 2558) บริเวณท่หนาวเย็นอีกบริเวณหน่ง คือ ห้องหนังสือ
สาหรับเด็ก ส่วนน้ใช้ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน ขนาด 36000 BTU ขนาดห้องประมาณ 35 ตารางเมตร ซ่งการเลือกใช้
�
ึ
ี
เครื่องปรับอากาศภายในห้องที่มีแสงแดดส่องควรเลือกใช้ขนาด 30000 BTU ต่อขนาดห้อง 34-44 ตารางเมตร (กรมพัฒนา
พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2555)
6.2 ด้านแสงสว่าง
ภายในห้องสมุดมีการใช้หลอดประหยัดไฟ และลดจานวนหลอดไฟลงจากแบบระบบไฟฟ้าเดิม พ้นท่โดยรวม
�
ื
ี
ภายในห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการอ่านหนังสือ แต่จากการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ และสนทนากลุ่ม
ี
กับนักศึกษาพบว่าในส่วนที่นั่งพักคอยหน้าเคาน์เตอร์ค่อนข้างมืด ท�าให้พื้นบริเวณนั้นไม่สามารถนั่งอ่านหนังสือได้เนื่องจาก
แสงสว่างไม่เพียงพอ ซึ่ง International Commission on Illumination (CIE) ก�าหนดค่าความส่องสว่างภายในห้องสมุดว่า
ี
ควรอยู่ท่ 300-500-750 ตามมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และด�าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
�
ในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง (กระทรวงแรงงาน, 2559) ค่าความส่องสว่างบริเวณอ่านหนังสือและ
โต๊ะท�างานเจ้าหน้าที่ควรมีค่าส่องสว่างอยู่ที่ 500 ลักซ์ (สมาคมไฟฟ้าและแสงสว่างแห่งประเทศไทย, 2550) ดังนั้นจึงควร
�
ิ
เพ่มแสงสว่างบริเวณส่วนอ่านหนังสือหน้าเคาน์เตอร์ และเคาน์เตอร์ท่น่งทางานเจ้าหน้าท่ให้มีค่าความส่องสว่างเป็นไปตาม
ี
ี
ั
กฎกระทรวงแรงงานและคู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายในอาคารก�าหนด
ในส่วนของโครงสร้างภายในห้องสมดมการใช้โครงสร้างเดม ไม่มการดดแปลงโครงสร้างอาคาร และหน้าต่าง
ี
ั
ิ
ี
ุ
ึ
�
ซ่งมีการเปิดช่องหน้าต่างน้อยทาให้แสงธรรมชาติเข้าสู่ภายในได้น้อย ข้อมูลจากแบบสอบถามพบว่า กลุ่มตัวอย่างเกินกว่า
ครึ่ง (56%) เห็นด้วยในการเพิ่มแสงสว่างธรรมชาติ ดังนั้นควรเพิ่มค่าประกอบแสงสว่างธรรมชาติอิงจากเกณฑ์การประเมิน
ความยงยืนทางพลังงานและส่งแวดล้อมไทยสาหรับอาคารระหว่างใช้งาน ให้อย่ในระดับคะแนนทดี โดยคะแนนจะคานวณจาก
ั
่
่
ู
�
ี
�
ิ
ค่าประกอบแสงธรรมชาติตาสุดในห้องมากกว่า 1% ในสัดส่วนพ้นท่ท่มีค่าตัวประกอบแสงธรรมชาติมากกว่า 65% ซ่งจะได้รับ
ึ
ี
ี
�
ื
่
คะแนนสูงสุดที่ 2 คะแนน ตามตางรางคะแนนการเปรียบเทียบสัดส่วนพื้นที่ใช้งานประจ�าที่ได้แสงธรรมชาติ (สถาบันอาคาร
ั
เขียวไทย, 2555) ผลจากการทาแบบสอบถามแสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างเกือบท้งหมด (94%) เห็นด้วยในการใช้เทคนิค
�
ิ
การเพิ่มแสงสว่างจากธรรมชาติ จึงควรการใช้เทคนิคเพ่มแสงสว่าง Light-Shelves โดยการติดต้งวัสดุสะท้อนแสงให้แสง
ั
ตกกระทบขึ้นไปยังเพดานเพื่อให้เกิดความสว่างกระจายทั่วห้อง (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง
พลังงาน, 2556) การติดตั้งอุปกรณ์ในแนวนอนบริเวณหน้าต่างทางทิศใต้ จะมีประสิทธิภาพในการส่องสว่างได้ดี (ฉันทมน
โพธิพิทักษ์, 2546, หน้า 365)
6.3 ด้านการใช้พื้นที่
ื
ี
ี
ึ
ี
ข้อมูลจากแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเก่ยวกับพ้นท่ท่ไม่ค่อยมีผู้เข้าใช้ กลุ่มตัวอย่างเกินกว่าคร่ง (58%)
มีความเห็นว่าห้องหนังสือสาหรับเด็กมีผู้เข้าใช้น้อยท่สุด สอดคล้องกันกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ และการสนทนากลุ่ม
ี
ี
�
กับนักศึกษา ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าเกิดจากการใช้ห้องหนังสือส�าหรับเด็กที่ผิดวัตถุประสงค์ซึ่งในอดีต
ี
เคยมีการเปิดให้นักศึกษาเข้าใช้ แต่ด้วยท่น่งภายในห้องหนังสือสาหรับเด็กสะดวกต่อการนอนหลับพักผ่อน จนทาให้มีนักศึกษา
�
�
ั
ั
�
�
ั
�
เข้ามานอนหลังจากน้นจึงได้จากัดอายุผู้เข้าใช้ห้องหนังสือสาหรับเด็กทาให้มีผู้ใช้ลดลง อีกท้งในช่วงเด็กเปิดเทอมไม่ค่อยมีผู้เข้าใช้
ปัจจุบันภายในห้องสมุดจึงมีการจัดการพ้นท่โดยปิดห้องหนังสือสาหรับเด็กในช่วงเปิดเทอมของเด็กนักเรียน และ ปิดไฟ
�
ี
ื
ื
ี
ื
�
ื
ี
ื
ื
�
และเคร่องปรับอากาศ หากมีเด็กมาเข้าใช้ให้มาติดต่อเจ้าหน้าท่เพ่อทาการเปิดพ้นท่ห้องหนังสือสาหรับเด็กแต่เน่องด้วยพ้นท ่ ี
ึ
ื
บริเวณน้เป็นระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนซ่งมีขนาด 36000 BTU ต่อขนาดพ้นท่ห้องหนังสือสาหรับเด็กขนาดประมาณ
ี
�
ี
ึ
�
ั
35 ตารางเมตร ซ่งขนาด BTU สูงกว่าขนาดของพ้นท่ อีกท้งจานวนเด็กเข้าใช้ในแต่ละคร้งค่อนข้างน้อย ทาให้อุณหภูม ิ
�
ั
ื
ี
ภายในค่อนข้างเย็น ดังนั้นควรแก้ไขโดยอาจจะต้องมีการหมุนเวียนให้กลุ่มผู้ใช้ห้องสมุดกลุ่มอื่นๆ ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์
Vol. 9 178