Page 19 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 19
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
8. ผลสรุปและข้อเสนอแนะ
st
การทดสอบออกแบบประจ�ายาม (ต้นแบบจากโบสถ์วัดสวนสันติธรรม) โดยการ ปรับจากต้นแบบ (Revolution 1 )
nd
เป็นต้นแบบใหม่ (Revolution 2 ) รวมทั้งหมด 7 แบบ Type A-G โดยยึดลักษณะลวดลายมุมมองภาพด้านบน ให้คงเดิม
สามารถสร้างแบบหล่อซิลิโคนได้ทั้ง 7 แบบ ซึ่งได้ชิ้นงานและแบบหล่อที่สมบูรณ์ตรงข้ามกับการสร้างแบบหล่อซีเมนต์ด้วย
ปูนพลาสเตอร์ เกิดความเสียหาย ทั้ง 7 แบบ โดยไม่สามารถน�ากลับมาใช้ซ�้าได้อีกทั้งชิ้นงานและแบบหล่อซีเมนต์ จึงน�าผล
�
มาวิเคราะห์ต่อจาเป็นต้องเลือกใช้วัสดุท่มีความยืดหยุ่น เพื่อสร้างแบบหล่อซีเมนต์ โดยไม่ยืดหยุ่นหรืออ่อนตัวจนเกิดไป
ี
เพราะจ�าเป็นต้องสามารถรับแรงกดจากวัสดุหล่อ ไม่ให้เกิดการเสียรูปร่าง การเลือกใช้ขี้ผึ้งท�าชิ้นงาน สามารถสร้างแบบหล่อ
ซีเมนต์ได้ ไม่เกิดความเสียหายที่แบบหล่อในขั้นตอนการถอดแบบแต่เกิดการเสียหายบางส่วนที่ชิ้นงาน
ปัจจัยที่มีผลส�าคัญต่อชิ้นงานและแบบหล่อ คือ ความแข็งและความยืดหยุ่น โดยวัสดุชิ้นงานปูนปลาสเตอร์ คือกลุ่ม
ที่แข็งเปราะ (Inflexible) และขี้ผึ้งคือกลุ่มที่มีความยืดหยุ่น (Flexible) ส่วนวัสดุแบบหล่อซิลิโคน คือ กลุ่มที่มีความยืดหยุ่น
ิ
ี
(Flexible) และซีเมนต์ คือกลุ่มท่แข็งและเปราะ (Inflexible) สรุปได้ว่าการสร้างแบบหล่อซิลิโคนสามารถสร้างได้ด้วยวัสดุช้นงาน
�
ท้งท่มีความยืดหยุ่นและไม่มีความยืดหยุ่น แต่จาเป็นต้องมีฐานรองแบบซิลิโคนเพ่อกันการเสียรูป แต่การสร้างแบบหล่อซีเมนต์
ื
ั
ี
ต้องสร้างจากวัสดุชิ้นงานที่มีความยืดหยุ่นเท่านั้น แต่ไม่จ�าเป็นต้องมีฐานรองแบบหล่อ
ตารางที่ 1.8 ตารางแสดงคุณสมบัติวัสดุชิ้นงานและวัสดุแบบหล่อที่มีผลต่อการท�าแบบหล่อ
ที่มา: ผู้วิจัย (2561)
Vol. 9 12