Page 23 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 23
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
4. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โชติกา พรทินผล (2556) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด งานวิจัยชิ้นนี้มี
ื
จุดประสงค์เพ่อศึกษาประวัติและสภาพปัจจุบันของโรงแรมในจังหวัดร้อยเอ็ดรวมถึงปัญหาต่างๆ ในการบริหารจัดการ และแนวทาง
การน�าวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสานด้านต่างๆ มาประยุกต์ใช้ เช่น การแต่งกายของพนักงาน การตกแต่งห้องพัก การจัดอาหาร
การตกแต่งภายในโรงแรม ศิลปะการแสดงดนตรี และการจัดภูมิทัศน์ ส่งท่น่าสนใจและน่าศึกษาก็ คือ วิธีการศึกษาและรวบรวม
ี
ิ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม และกรณีศึกษาโรงแรมต่างๆ ในจังหวัดร้อยเอ็ด
ี
ท่เป็นจังหวัดในแถบภาคอีสานเหมือนกัน และผลการวิจัยด้านการตกแต่งภายในห้องพักและอาคารภายในโรงแรม พบว่า
ื
มีการนาภาพเก่ยวกับวัฒนธรรมและความเช่อ เช่น ภาพพญานาค และได้นาเคร่องมือการเกษตร ซ่งเป็นวิถีชีวิตของชาวร้อยเอ็ด
ึ
�
ี
ื
�
ื
มาใช้ตกแต่ง และพบว่าโรงแรมหลายแห่งในจังหวัดร้อยเอ็ดมีการแสดงดนตรีพ้นบ้านภายในโรงแรม ภีมณัช ภัทธภาสิทธ ิ ์
(2555) การศึกษาเครื่องประดับทองสมัยกรุงศรีอยุธยา สู่การออกแบบตกแต่งภายในเดอะทิพยาภรณ์ บูติคโฮเทล งานวิจัย
ช้นน้เป็นการรวบรวมเน้อหาท่เก่ยวข้องกับเทคนิครวมถึงคติแนวคิดท่ถ่ายทอดออกมาเป็นเคร่องประดับทองในสมัยอยุธยา
ิ
ี
ี
ี
ี
ื
ื
แปรรูปสู่เส้นสาย และบรรยากาศรวมถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในบูติคโฮเตล เป็นการสร้างบรรยากาศภายในจากเอกลักษณ์
ื
ี
ี
ท่แสดงถึงวัฒนธรรมไทย ผลการศึกษาเคร่องประดับทองในสมัยอยุธยาสู่การออกแบบบูติคโฮเตล สรุปผลการศึกษาได้ดังน้ คือ
ื
�
�
ี
ทิพยาภรณ์เป็นคาสาคัญ (Keyword) ท่สามารถถ่ายทอดเป็นงานออกแบบท่ส่อถึงศิลปะเคร่องประดับไทยประเพณี ท่ใช้ทองคา
ี
ี
ื
�
ประกอบอัญมณีเป็นวัสดุหลักในการสร้างเครื่องประดับ โดยเนื้อหาทั้งรูปแบบ วัสดุ เทคนิคการผลิต คติความเชื่อ ถูกแปรรูป
ื
สู่การสร้างบรรยากาศ ตกแต่งภายใน เดอะทิพยาภรณ์ บูติคโฮเตล ให้เกิดความรู้สึกแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของเคร่องประดับทอง
�
สมัยอยุธยา โดยนาลายละเอียดทางด้านลวดลายและวัสดุท่มีทองคาเป็นส่วนผสมและสีท่ความหมายด่งอัญมณีอันมีความหมาย
ั
ี
ี
�
มงคล ซึ่งรายละเอียดต่างๆ ได้ประดับตกแต่งบนฝ้าเพดาน ผนังตกแต่งและเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ
5. วิธีด�าเนินการวิจัย
การวิจัยน้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ การสารวจและสังเกตรวมท้งใช้
ั
ี
�
แบบสอบถามกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาพักในโรงแรมประเภท Cultural Hotel จ�านวน 3 แห่ง มีรายละเอียด ดังนี้
5.1 กรณีศึกษาและกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนส�าคัญ
กรณีศึกษา ได้แก่ โรงแรมที่มีการน�าศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น วิถีชีวิตชาวบ้านมาใช้ในการออกแบบตกแต่งและ
ให้ความร่วมมือในการท�าวิจัย โดยได้กรณีศึกษา จ�านวน 3 กรณี คือ 1) โรงแรมบราวน์เฮ้าส์ จังหวัดอุดรธานี 2) โรงแรม
ไอยูเดีย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3) บ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี จังหวัดจันทบุรี และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนส�าคัญ
มี 1) คุณไอรินรดา ไชยรบ หัวหน้าฝ่ายบุคคลโรงแรมบราวน์เฮ้าส์ 2) คุณรัตนา อ่วมประเสริฐ ผู้จัดการโรงแรมไอยูเดีย
�
ี
3) คุณปัทมา ปรางค์พันธ์ ผู้จัดการบ้านพักประวัติศาสตร์หลวงราชไมตรี และแบบสอบถามผู้ท่เข้าพักโรงแรมท้ง 3 แห่ง จานวน
ั
40 คนที่ผู้วิจัยคัดเลือกอย่างเจาะจงจากผู้ที่เข้าพักในวันที่ 5-16 กุมภาพันธ์ 2561
5.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือวิจัยมี 3 ชนิด ได้แก่ 1) แบบสังเกต 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบสอบถาม และอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่
กล้องถ่ายภาพ ตลับเมตร สมุดจดบันทึก เครื่องบันทึกเสียง เครื่องมือวิจัยมีรายละเอียด ดังนี้
5.2.1 แบบสังเกตกรณีตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 ส่วนย่อย คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกรณีศึกษา ได้แก่ ชื่อ
ี
ื
ั
�
และสถานท่ต้ง จานวนห้องพัก รูปแบบของห้องพัก ส่วนท่ 2 การจัดการพ้นท่ใช้สอยส่วนกลาง ได้แก่ พ้นท่ใช้สอยของโรงแรม
ี
ี
ี
ื
ื
การจัดโซนน่ง ทางสัญจรภายในโรงแรม ปัญหาและข้อจากัดในการใช้อาคาร และพ้นท่ใช้สอยภายในห้องพัก สิ่งอานวยความสะดวก
ี
�
�
ิ
และรูปแบบการวางผัง ส่วนที่ 3 การออกแบบและตกแต่ง ได้แก่ รูปแบบ (Style) ของตกแต่งที่ใช้ (Props & Decorate)
การเลือกใช้วัสดุ (Materials)
Vol. 9 16