Page 22 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 22

1.  บทน�า
                      อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในปัจจุบันนั้นมีความหลากหลายในการให้บริการและเฉพาะกลุ่มมากขึ้น เนื่องมาจากว่า

              ความต้องการของกลุ่มนักเดินทางท่องเที่ยวได้เปลี่ยนไป องค์การท่องเที่ยวโลก (www.unwto.org) ได้มีการก�าหนดรูปแบบ
              การท่องเที่ยวได้ 3 รูปแบบหลัก ได้แก่ 1) รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ (Natural Based Tourism) 2) รูปแบบ
              การท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรม  (Cultural  Based  Tourism)  และ  3)  รูปแบบการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ (Special
              Interest  Tourism)  ซึ่งแต่ละรูปแบบนั้นจะแตกแขนงแยกย่อยไปอีก  เช่น  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ  การท่องเที่ยวเชิงศาสนา
              เป็นต้น

                                                        ั
                                                                              ื
                                                                                          ี
                      ในประเทศไทยน้นการท่องเท่ยวเชิงวัฒนธรรมน้นได้รับความนิยมอย่างมาก เน่องจากมีสถานท่ท่สวยงามเป็นเอกลักษณ์
                                  ั
                                           ี
                                                                                           ี
              มีประวัติความเป็นมาที่น่าสนใจ ซึ่ง บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) ได้อธิบายว่าการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมประกอบด้วย
              1) ประวัติศาสตร์และร่องรอยทางประวัติศาสตร์ 2) โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ 3) งานสถาปัตยกรรมเก่าแก่ดั้งเดิม 4) ศิลปะ
              หัตถกรรม ประติมากรรม ภาพวาด รูปปั้นและแกะสลัก 5) ศาสนารวมถึงพิธีกรรมต่างๆ ทางศาสนา 6) ดนตรี การแสดงละคร
              ภาพยนตร์ 7) ภาษาและวรรณกรรม 8) วิถีชีวิต เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย อาหาร 9) ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน เทศกาล
              ต่างๆ 10) ลักษณะงานและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่น�ามาใช้เฉพาะท้องถิ่น

                      ประเทศไทยมีแหล่งท่องเท่ยวเชิงวัฒนธรรมเพ่มมากข้นในทุกๆ ปี จากโครงการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมเพ่อเพ่มศักยภาพ
                                                                                                 ื
                                                                                                    ิ
                                                             ึ
                                                       ิ
                                         ี
                          ี
                                               ี
              ของการท่องเท่ยว โดยกระทรวงวัฒนธรรมท่ต้องการจะอนุรักษ์และสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ และพัฒนาชุมชนต่างๆ
                                              ื
                               ี
                         ี
                                                          ิ
              ให้เป็นสถานท่ท่องเท่ยวเชิงวัฒนธรรม เพ่อให้คนในท้องถ่นตระหนักถึงคุณค่าและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและเป็นการสร้าง
              รายได้ให้กับชุมชนอย่างย่งยืน  และกิจการท่พักแบบโฮมสเตย์  (Home  Stay)  น้นเป็นการสร้างรายได้เป็นอย่างมากให้กับ
                                  ั
                                                ี
                                                                             ั
              คนในพื้นที่
                      ในส่วนของที่พักแบบโฮมสเตย์นั้นคือบ้านของชาวบ้านในชุมชน ซึ่งเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าพัก ท�าให้เข้าถึงวิถีชีวิต
                                                           ิ
                                            ่
                                                                                                       ้
                                                           ่
                                                          ี
                                                  ่
                                                         ่
                                                             �
                                                                                 ั
              และวฒนธรรมของคนในพ้นท่ไดเป็นอยางดี แตอาจจะไมมสงอานวยความสะดวกครบครนตามมาตรฐานโรงแรมและขอจากด
                                                                                                           ั
                                                                                                         �
                   ั
                                       ้
                                     ี
                                  ื
              บางอย่าง รวมไปถึงการขยายตัวของนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น บ้านพักในชุมชนหลายแห่งนั้นจึงถูกพัฒนา และปรับปรุงให้เป็น
              รูปแบบของที่พักประเภท บูทีค โฮเทล โดยน�าเอาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น มาใช้ออกแบบตกแต่ง
              ผสมผสานกับความสะดวกสบาย และสิ่งอ�านวยความสะดวกที่เพิ่มขึ้น ท�าให้เกิดโรงแรมเชิงวัฒนธรรม (Cultural Hotel) ขึ้น
                                            ี
                                                                            ั
                      ในปัจจุบันการตกแต่งโรงแรมท่น�าเอาศิลปวัฒนธรรมมาใช้ออกแบบตกแต่งน้นได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากว่า
              สามารถสร้างเอกลักษณ์ได้ชัดเจนทั้งเรื่องรูปแบบการตกแต่งและการบริการ แต่ว่ามีหลายแห่งนั้นเน้นแค่การตกแต่งแต่ไม่ได้
              มีแนวคิดเรื่องการบริการในรูปแบบของโรงแรม  การวิจัยครั้งนี้จึงสนใจที่จะศึกษาแนวทางในการการออกแบบตกแต่งโรงแรม
                ี
                                 ิ
                                                                                          ื
              ท่นาศิลปวัฒนธรรมพื้นถ่นมาใช้ออกแบบตกแต่งและบริการและศึกษาความต้องการของกลุ่มลูกค้า เพ่อใช้ประกอบการทางาน
                                                                                                        �
                 �
              วิจัยต่อไป
              2. วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
                      เพื่อศึกษาการออกแบบตกแต่งโรงแรมว่ามีการน�าศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นมาใช้ออกแบบตกแต่งอย่างไรบ้าง
              3. ขอบเขตของการวิจัย
                      3.1  การวิจัยครั้งนี้ศึกษาโรงแรมที่ตั้งอยู่ในย่านชุมชนหรือในย่านแหล่งท่องเที่ยวเท่านั้น
                      3.2  ในการเลือกกรณีศึกษาจะเป็นโรงแรมประเภทบูทีค โฮเทล ขนาดเล็กไม่เกิน 100 ห้อง ที่น�าวิถีชีวิตวัฒนธรรม
              และศิลปะพื้นถิ่นมาใช้ออกแบบตกแต่ง
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            15    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27