Page 212 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 212
รูปที่ 12 แสดงลักษณะทางกายภาพ การออกแบบฝ้าเพดานสะท้อนเสียงไม้อัดกรุ โครงเคร่าไม้เนื้อแข็ง
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
รูปที่ 13 แสดงการกระจายของเสียงหลังการออกแบบฝ้าเพดานสะท้อนเสียง
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
5. สรุปแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางเสียงภายในอาคาร
หลังจากการปรับปรุงโดยการติดตั้งวัสดุซับเสียงแผ่นกลาสวูลส�าเร็จรูปหุ้มด้วยผ้าใยแก้ว หนา 50 มิลลิเมตร พื้นที่
รวม 405.72 ตารางเมตร บริเวณภายในห้องประชุม พบว่าค่าระดับเสียงรบกวนพื้นหลัง (Background Niose) มีค่าลดลง
�
ั
ั
หลังการปรับปรุง 2 dBA จาก 51.38 dBA เป็น 49.38 dBA พร้อมท้งทาให้ค่ารีเวอร์เบอร์เรช่นไทม์ (RT60) ในกรณีเปิดม่าน
และเปิดเครื่องปรับอากาศ (ไม่มีผู้ใช้งาน) ลดลงจาก 2.19 วินาทีเป็น 1.17 วินาที ในกรณีปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ
(ไม่มีผู้ใช้งาน) ลดลงจาก 1.92 วินาที เป็น 1.08 วินาที ในกรณีเปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (มีผู้ใช้งาน 500 คน)
ลดลงจาก 1.55 วินาที เป็น 1.01 วินาที และในกรณีปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (มีผู้ใช้งาน 500 คน) ลดลงจาก
1.43 วินาที เป็น 0.90 วินาที ดังตารางที่ 4 และมีงบประมาณการก่อสร้างปรับปรุงสภาพแวดล้อมของเสียงภายในอาคาร
หอประชุม อ�าเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี รวมทั้งสิ้น 406,836.39 บาท
ตารางที่ 4 แสดงผลสรุปรายละเอียดการเปรียบเทียบก่อน และหลังปรับปรุงสภาพแวดล้อมของเสียงภายในอาคาร
รายการปรับปรุง ก่อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง
ขนาดพื้นที่ห้อง (Volume ห้อง) 6,160 ตารางเมตร 6,160 ตารางเมตร
ค่า Background Niose 51.38 dBA 49.38 dBA
ค่า RT60 ในกรณี เปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (ไม่มีผู้ใช้งาน) 2.19 วินาที 1.17 วินาที
ค่า RT60 ในกรณี ปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (ไม่มีผู้ใช้งาน) 1.92 วินาที 1.08 วินาที
ค่า RT60 ในกรณี เปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (มีผู้ใช้งาน 500 คน) 1.55 วินาที 1.01 วินาที
ค่า RT60 ในกรณี ปิดม่านและเปิดเครื่องปรับอากาศ (มีผู้ใช้งาน 500 คน) 1.43 วินาที 0.90 วินาที
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
205 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.