Page 246 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 246

เพื่อแยกภาพถ่ายที่เสียและให้ชุดภาพสอดคล้องกับเนื้อหาที่ก�าหนด จากนั้นจึงให้คนในพื้นที่ชุมชนแหล่งพุน�้าร้อนมีส่วนร่วม
              ในการคัดเลือกและประเมินความเหมาะสมของภาพถ่ายในฐานะสื่อส่งเสริมภาพลักษณ์สถานที่และการท่องเที่ยวของชุมชน


              4. วิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิจัย

                      หัวข้อวิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิจัยแบ่งออกตามกระบวนการด�าเนินงานวิจัย ประกอบด้วย 1) การประเมินแหล่ง

                 �
                 ้
                                                                              �
                                                                                            ี
              พุนาร้อนกรณีศึกษาตามแนวทางการจัดระดับคุณภาพและศักยภาพตามหลักการจาแนกแหล่งท่องเท่ยวเชิงนิเวศโดยหลัก
              ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ  (ROS)  2)  การวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์แหล่งพุน�้าร้อนและพื้นที่ใกล้เคียง
                                     ี
              เพ่อกาหนดรูปแบบการท่องเท่ยวและภาพลักษณ์สถานท่โดยรวม และ 3) การกาหนดเน้อหาและตัวอย่างผลการคัดเลือกและ
                ื
                   �
                                                         ี
                                                                                 ื
                                                                          �
              ประเมินภาพถ่ายโดยคนในพื้นที่ชุมชนมีส่วนร่วม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                                           �
                      4.1  การประเมินแหล่งพุนาร้อนกรณีศึกษาตามแนวทางการจัดระดับคุณภาพและศักยภาพตามหลักการ
                                           ้
              จ�าแนกแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยหลักช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS)
                         ผลการประเมินแหล่งพุน�้าร้อนกรณีศึกษาตามหลักการ ROS มีรายละเอียดตามตารางต่อไปนี้
              ตารางที่ 2 ผลการประเมินแหล่งพุน�้าร้อนกรณีศึกษาด้วยหลักการ ROS
                                    แหล่งพุน�้าร้อนดอยสะเก็ด

                พื้นที่ชนบท (Rural, R) การพัฒนาในระดับชุมชนชนบท เข้าถึงได้จากเขตเมือง
                สภาพพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติเพื่อรองรับการท่องเที่ยวชัดเจน



                                    แหล่งพุน�้าร้อนโป่งปูเฟือง

                พื้นที่ธรรมชาติดัดแปลง (Roaded Natural-Modified, RN-M) มีระยะห่างจาก
                แหล่งชุมชนไม่มาก มีการใช้ประโยชน์บนพื้นที่ใกล้เคียง พื้นที่ยังมีความเป็น
                ธรรมชาติแต่มีการดัดแปลง
                                     แหล่งพุน�้าร้อนเมืองแปง

                พื้นที่ธรรมชาติกึ่งสันโดษโดยใช้ยานยนต์ (Semi-primitive Motorized Area,
                SPM) เนื่องจากตั้งอยู่ห่างชุมชน สันโดษ มีการดัดแปลงและมีถนนทางเข้าแต่ยัง

                กลมกลืนกับธรรมชาติ

              ที่มา: ผู้วิจัย (2560)


                                                                                                 �
                                                                                  ื
                                                                        ้
                      4.2  การวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์แหล่งพุน�าร้อนและพ้นท่ใกล้เคียงเพ่อกาหนดรูปแบบ
                                                                                    ี
                                                                                              ื
              การท่องเที่ยวและภาพลักษณ์สถานที่โดยรวม
                                                                                          ื
                                                                                  �
                                                                                  ้
                                                                                             ี
                                                                ื
                         ผลการวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์พ้นท่กรณีศึกษาแหล่งพุนาร้อนและพ้นท่ใกล้เคียงด้วยทฤษฎ ี
                                                                   ี
              ภาพลักษณ์สถานที่แบ่งออกตามพื้นที่กรณีศึกษาสามแห่ง มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                         4.2.1  แหล่งพุน�้าร้อนดอยสะเก็ด  ต�าบลป่าเมี่ยง  อ�าเภอดอยสะเก็ด  จังหวัดเชียงใหม่  จัดเป็นแหล่งพุน�้าร้อน
              ในพื้นที่ชนบท (Rural, R) เนื่องจากแหล่งพุน�้าร้อนตั้งอยู่ในบริเวณชุมชน มีการใช้งานจากคนในชุมชนและมีการพัฒนาเพื่อ
                                                                                                       ื
                                                                                                 ื
              รองรับการท่องเท่ยว  ในด้านการบริหารและความมีส่วนร่วมของชุมชนมีความแตกต่างจากพ้นท่กรณีศึกษาอ่นๆ  เน่องจาก
                            ี
                                                                                     ื
                                                                                        ี
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            239   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251