Page 245 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 245
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
th
รูปที่ 2 รูปแบบการจ�าแนกข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์สถานที่
ที่มา: Echtner and Ritchie (1991)
3.3 ก�าหนดเนื้อหาส�าหรับการถ่ายภาพที่สื่อสารถึงรูปแบบการท่องเที่ยวและภาพลักษณ์ที่ก�าหนด
ขั้นตอนการก�าหนดเนื้อหาส�าหรับการถ่ายภาพน�าแนวการศึกษามานุษยวิทยาภาพทีเสนอโดย Grady (2004)
มาประยุกต์ใช้ในการคัดกรองและกาหนดเน้อหาสาหรับการถ่ายภาพจากข้อมูลท่ศึกษาด้วยการวัดภาพลักษณ์สถานท ่ ี
�
ื
�
ี
มีกระบวนการประกอบด้วย
1. ก�าหนดกรอบภาพลักษณ์รวมและรูปแบบการท่องเที่ยวของพื้นที่กรณีศึกษา
2. คัดเลือกรายละเอียดภาพลักษณ์ย่อยที่ส่งเสริมภาพลักษณ์รวมและรูปแบบการท่องเที่ยว
3. คัดเลือกภาพถ่ายให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่ก�าหนด
ก�าหนดเนื้อหาแบ่งออกเป็นตารางดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 ตัวอย่างตารางการก�าหนดเนื้อหาการถ่ายภาพ
รูปแบบการท่องเที่ยว ภาพลักษณ์รวม
ทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
3.4 ท�าการถ่ายภาพตามเนื้อหาที่ก�าหนด
ื
�
ี
�
ื
ี
การถ่ายภาพทาการถ่ายตามเน้อหาท่กาหนดตามตารางกาหนดการถ่ายภาพเพ่อส่อสารรูปแบบการท่องเท่ยว
ื
�
ึ
�
และภาพลักษณ์รวมประกอบด้วยคุณลักษณะท่เกิดข้นตามธรรมชาติ เช่น แม่น้า ภูเขา แหล่งพุน�าร้อน และทรัพยากรท่มนุษย์
้
ี
ี
สร้างข้น เช่น ส่งก่อสร้าง วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี อย่างไรก็ตาม ระหว่างการถ่ายภาพผู้ถ่ายอาจได้เรียนรู้ข้อมูลเก่ยวกับ
ึ
ี
ิ
พื้นที่เป้าหมายเพิ่มเติมจากการเข้าพื้นที่ท�างานร่วมกับคนในชุมชน ผลที่ได้คือชุดภาพถ่ายที่ยังไม่ถูกคัดเลือก
3.5 คัดเลือกและประเมินภาพถ่ายโดยคนในพื้นที่ชุมชนมีส่วนร่วม
ี
ข้นตอนการคัดเลือกและประเมินภาพถ่ายโดยคนในพ้นท่ชุมชนมีส่วนร่วมมีแบบอย่างมาจากการสอบถาม
ั
ื
ด้วยภาพ (Photo Elicitation) ท่ใช้ในการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาภาพซ่งเป็นการพูดคุยหรือสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างและใช้ภาพ
ี
ึ
ช่วยกระตุ้นความคิด (Harper, 1998 อ้างใน Byrne and Doyle, 2004) ในการวิจัยนี้ผู้วิจัยจะคัดเลือกภาพถ่ายในเบื้องต้น
Vol. 9 238