Page 242 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 242
and to evaluate the photographs taken with the determined destination image criteria through participated
evaluation and selection by local communities. The result was concluded in a procedure for documentary
photography that promotes tourism which consists of 1) studying the target area with ROS to evaluate the
potential of the area, 2) analyzing the type of tourism and holistic destination image of the target area using
destination image theory, 3) determining the content for photography using visual anthropology study method,
4) photographing as planned, and 5) selecting the photographs through tourism destination communities’
participatory evaluation and selection.
Keywords: Documentary Photography Tourism Destination Image
1. บทน�า
ี
การท่องเท่ยวเชิงสุขภาพเป็นการท่องเที่ยวทางเลือกท่ประกอบด้วยกิจกรรมนันทนาการและการรักษาหรือฟื้นฟ ู
ี
ี
ี
สุขภาพมีแนวโน้มจะเติบโตจากความต้องการท่องเท่ยวในความสนใจพิเศษ (กระทรวงการท่องเท่ยวและกีฬา, 2558) ทรัพยากร
้
ี
ี
�
ี
ี
ทางธรรมชาติในประเทศไทยท่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ยวเพ่อรองรับการท่องเท่ยวในลักษณะน้ได้คือแหล่งพุนาร้อน
ื
ซึ่งจากการส�ารวจโดยกรมทรัพยากรธรณี (2559) พบว่าในประเทศไทยมีจ�านวน 112 แหล่ง โดยเฉพาะพื้นที่ในภาคเหนือ
้
�
�
ึ
�
้
�
�
ี
มีจานวนมากถึง 37 แหล่ง ซ่งมีการกาหนดเส้นทางพุนาร้อน เมืองสปา และหมู่บ้านพุนาร้อนต้นแบบนาร่องเส้นท่ 1 ในจังหวัด
ั
ี
เชยงใหม่ เชยงราย และแมฮองสอน แตปญหาทพบ คอ ยงไมมการศกษาเกยวกบภาพลกษณสถานท่และแนวทางการพฒนา
ั
ี
่
่
์
ั
ึ
่
่
ื
่
ี
ั
ี
ี
ี
่
ั
ี
ี
ท่เหมาะสมกับศักยภาพของพ้นท่ การวิจัยน้จึงเป็นส่วนหน่งของการศึกษาภาพลักษณ์สถานท่แหล่งพุนาร้อนโดยใช้การถ่ายภาพ
ื
้
�
ี
ี
ึ
ั
่
ี
่
์
้
ื
้
ู
่
่
ื
้
่
ื
่
ั
เปนเครองมอในการสอสาร การรบร และสรางภาพลกษณสถานท เนองจากการถายภาพเปนหนงในสอสรางและสอสารอตลกษณ ์
ั
็
ื
่
ั
ื
ึ
่
็
ื
ิ
สถานท่ท่องเท่ยวและส่งแวดล้อมและทุนวัฒนธรรมในท้องถ่นสามารถนามาสร้างมูลค่าได้ ภาพถ่ายท่องเท่ยวมักนาเสนอ
ี
�
�
ี
ี
ิ
ศิลปวัฒนธรรมต่างถิ่นรวมถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกและกิจกรรมการท่องเที่ยวแบบต่างๆ (Chen She Ying, 2555) แต่จาก
การศึกษาพบว่าการถ่ายภาพท่องเท่ยวมักเกิดจากความต้องการของบุคคลหรือองค์กรภายนอก (Marien, 2012) และช่างภาพ
ี
มักใช้ทุนความรู้ด้านการถ่ายภาพครองพื้นที่สื่อสารแทนที่คนในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวที่มีทุนความรู้ และทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
(ต่อสิต กลีบบัว, 2553) การไม่มีการประสานงานร่วมกับชุมชนหรือคนในพ้นท่เพ่อการถ่ายภาพเพ่อส่งเสริมการท่องเท่ยว
ี
ื
ื
ี
ื
ี
ี
อาจก่อให้เกิดภาพลักษณ์ท่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน รวมถึงไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การท่องเท่ยวปัจจุบัน
ื
ื
ี
ึ
ซ่งเน้นการมีส่วนร่วมของท้องถ่น การวิจัยน้จึงเลือกการถ่ายภาพสารคดีเชิงสังคมและมานุษยวิทยามาเป็นเคร่องมือเน่องจาก
ิ
ื
�
ี
ื
ื
ี
เป็นการนาเสนอข้อเท็จจริงท่น่าเช่อถือรวมถึงส่อความรู้สึกต่อข้อเท็จจริง (Marien, 2012) ภาพถ่ายสารคดีมีเน้อหาท่หลากหลาย
ี
ท้งทิวทัศน์ ผู้คน และวิถีชีวิตท่แปลกตา รวมถึงปัญหาด้านต่างๆ (Becker, 1995) มีแนวทางปฏิบัติท่ให้ความสาคัญกับ
ี
�
ั
ี
การแลกเปล่ยนประสบการณ์ระหว่างช่างภาพและประเด็นปัญหา การศึกษาประเด็นปัญหาเป็นระยะเวลานาน และการเรียนร ู้
ั
ู
้
ั
ประเด็นปญหาโดยทงผชมและผถายภาพ (Light, 2000) แนวทางปฏบตในการถายภาพสารคดีจงอาจช่วยลดปญหาการถ่ายภาพ
้
ั
ิ
ู
้
่
่
ิ
ึ
ั
ุ่
ี
ุ
ี
ี
ท่องเท่ยวข้างต้นได้ บทความวจัยน้มงเน้นการเสนอการประยกต์ใช้ทฤษฎีภาพลักษณ์สถานท่สาหรับการถ่ายภาพสารคดีเพอ
ื
ิ
�
่
�
้
ส่งเสริมการท่องเท่ยวซ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเร่อง “การถ่ายภาพสารคดีเพ่อส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเท่ยวแหล่งพุนาร้อน
ื
ื
ี
ึ
ี
อารยธรรมล้านนา”
2. วัตถุประสงค์การวิจัย
ื
�
้
ี
ี
2.1 เพ่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการท่องเท่ยวและภาพลักษณ์สถานท่ของแหล่งพุนาร้อนดอยสะเก็ด โป่งปูเฟือง
และเมืองแปง
2.2 เพื่อศึกษาและสร้างแนวทางการถ่ายภาพสารคดีด้วยทฤษฎีภาพลักษณ์สถานที่
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
235 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.